Page 21 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             10




                   พืชไมํสามารถน าไปใช๎ประโยชน์ได๎ นอกจากจะถูกปลดปลํอยออกมาเสียกํอน ปกติโพแทสเซียมในรูปนี้จะ

                   ถูกปลดปลํอยออกมาอยํางช๎า ๆ ชดเชยรูปที่ถูกพืชน าไปใช๎
                                3) รูปที่ยังไมํเป็นประโยชน์ตํอพืช (relatively unavailable from) ได๎แกํ รูปที่อยูํในแรํ
                   พวก feldspar, mica และแรํอื่น ๆ เป็นแหลํงของโพแทสเซียมในดินในระยะยาว เพราะโพแทสเซียมจะ
                   ถูกปลดปลํอยให๎ละลายออกมาทีละน๎อย โดยสารละลายกรดคาร์บอนิค

                              ข๎าวที่ขาดโพแทสเซียมจะแสดงอาการ  คือ  ใบขนาดเล็กแคบสีเขียวอมน้ าเงิน  การแตกกอ
                   ลําช๎าออกไป  มีดวงคลอโรซิสเกิดกระจายอยํางไมํเป็นระเบียบและตํอมาจะกลายเป็นแผลเนโครซิส  แพรํ
                   ขยายตามแนวยาวของใบแกํ  โดยเริ่มจากปลายใบและตํอมาเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลอมแดง  ในที่สุดใบจะ
                   กลายเป็นสีน้ าตาลและแห๎งตาย เริ่มจากสํวนปลายใบอํอนที่เกิดภายหลังมักจะมีสีเขียวอมเหลืองซีด อาการ

                   ขาดโพแทสเซียมในข๎าว รู๎จักในชื่อ “grey speck” รากของต๎นข๎าวที่ขาดโพแทสเซียมจะมีพลังออกซิไดส์
                   จะลดลง (วิจิตร, 2552)

                   6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                          งานวิจัยเกี่ยวข๎องกับการวิจัยนี้ สามารถแบํงเป็น 2 เรื่อง ได๎แกํ
                          6.1 การใช๎ถํานชีวภาพ ซึ่งสามารถแบํงได๎ 4 ด๎าน ดังนี้
                              6.1.1 ด๎านการเจริญเติบโตและให๎ผลผลิตพืช จากกรายงานของอภิญญา (2556) ได๎ศึกษา
                   ประสิทธิภาพของไบโอชาร์ (ถํานชีวภาพ) ชนิดตําง ๆ และจุลินทรีย์มาใช๎ในการลดการสะสมของแคดเมียม

                   ในต๎นข๎าวที่ปลูกในดินที่ปนเปื้อนแคดเมียม พบวํา การใสํไบโอชาร์จากขี้เลื่อยชํวยลดการสะสมแคดเมียม
                   ในต๎นข๎าวได๎ดีที่สุด ท าให๎ต๎นข๎าวเจริญเติบโตได๎ดี  รองลงมาได๎แกํ ไบโอชาร์จากชานอ๎อย และจากแกลบ
                   ตามล าดับ นอกจากนี้พบวํา ไบโอชาร์จากขี้เลื่อยมีซิลิกอนท าให๎เซลล์พืชแข็งแรง ท าให๎ต๎นข๎าวทนตํอ
                   สภาวะที่มีแคดเมียมปนเปื้อนได๎ดี สํวนวิชุตา (2556) ศึกษาผลของถํานชีวภาพที่มีตํอผลผลิตข๎าวและ

                   คุณภาพดินเหนียวปนทราย  กรณีศึกษาต าบลปุาเด็ง  อ าเภอแกํงกระจาน  จังหวัดเพชรบุรี โดยใช๎ถําน
                   ชีวภาพจากไม๎เนื้ออํอน (ไม๎ชะเอม ไม๎กระชิด ไม๎สะแกวัลย์ และไม๎กระดูกแตก) และซังข๎าวโพด บดรวมกัน
                   อัตรา 1,600 กิโลกรัมตํอไรํ เทํากับการใสํปุ๋ยคอก  โดยการแบํงใสํ 2 ครั้ง (ครั้งแรกกํอนปลูก 2 สัปดาห์
                   อัตรา 1,000 กิโลกรัมตํอไรํ ครั้งที่ 2 ระยะกํอนข๎าวตั้งท๎อง อัตรา 600 กิโลกรัมตํอไรํ) ก าหนดวิธีการ

                   ทดลอง 4 วิธี ได๎แกํ 1) ดินเดิม 2) ดินรํวมกับถํานชีวภาพ 3) ดินรํวมกับปุ๋ยคอก และ 4) ดินรํวมกับถําน
                   ชีวภาพอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ และปุ๋ยคอกอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ ใช๎ข๎าวไรํ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์นาสาร
                   พันธุ์เหลือง และข๎าวผสม (นาสารผสมเหลือง) พบวํา ผลผลิตและการเจริญเติบโตของข๎าว ได๎แกํ ความสูง

                   น้ าหนักแห๎ง  (ล าต๎นและราก)  จ านวนต๎นตํอพื้นที่  การแตกกอ  จ านวนเมล็ดตํอรวง  จ านวนรวงตํอพื้นที่
                   น้ าหนัก  1,000  เมล็ด  และเปอร์เซ็นต์เมล็ดดี  เพิ่มขึ้นอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติเมื่อใสํถํานชีวภาพ  และ
                   พบวํา เมื่อใสํถํานชีวภาพอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํรํวมกับปุ๋ยคอกอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ ให๎ผลผลิตได๎ดี
                   ยิ่งขึ้น ส าหรับศิริลักษณ์ และอรสา (2556) รายงานวํา อัตราสํวนของปุ๋ยคอกตํอถํานชีวภาพ (จากฟางข๎าว
                   แกลบ และกิ่งไม๎) 25:75  (คิดเป็นปุ๋ยคอกอัตรา 800  และถํานชีวภาพอัตรา 2,400 กิโลกรัมตํอไรํ) ท าให๎

                   คะน๎ามีความสูงและน้ าหนักสูงกวําทุกต ารับการทดลองและมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ
                   สํวนรายงานของเสาวคนธ์ (2557) ที่ศึกษาผลของถํานชีวภาพจากไม๎ไผํและแกลบตํอผลผลิต ประสิทธิภาพ
                   การดูดใช๎ไนโตรเจนของข๎าวพันธุ์ชัยนาท 1 พบวํา การใสํถํานชีวภาพ (จากไม๎ไผํ และแกลบ) อัตรา  60

                   กรัมตํอถัง  (1 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก  หรือคิดเป็นอัตรา 2,400 กิโลกรัมตํอไรํ)  รํวมกับปุ๋ยเคมีจะท าให๎
                   ผลผลิตข๎าวดีกวําการใสํปุ๋ยเคมีอยํางเดียว  นอกจากนี้จากรายงานของเกศศิรินทร์  และคณะ (2561)  ที่
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26