Page 17 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              6




                   อาหารโดยเฉพาะไนโตรเจน และอุ๎มน้ าได๎ดี จึงเหมาะส าหรับน ามาใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดินรํวมกับปุ๋ย

                   อินทรีย์ (ทวีวงศ์, 2553)  โดยมีคําความเป็นกรดเป็นดํางเทํากับ 9.28  ปริมาณอินทรียวัตถุ 18.93
                   เปอร์เซ็นต์ ปริมาณไนโตรเจน 1.07 เปอร์เซ็นต์ (กันยาพร, 2559)
                          3.2 ปุ๋ยคอก (มูลวัว) เป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่คํอนข๎างหางํายในท๎องถิ่น จังหวัดอุตรดิตถ์มีมูลวัว
                   ประมาณ 131,641 ตันตํอปี (กรมวิชาการเกษตร, 2548) ซึ่งในมูลวัวประกอบด๎วย ธาตุไนโตรเจน

                   ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก ามะถัน ปริมาณ 1.9, 0.7, 2.0, 1.3, 0.7 และ
                   0.5  เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ (ยงยุทธ และคณะ, 2551) จะเห็นได๎วําปุ๋ยคอก (มูลวัว) มีธาตุอาหาร
                   คํอนข๎างต่ า การจะแนะน าให๎เกษตรกรใช๎มูลวัวอยํางเดียวในนาข๎าวดังเชํนโบราณนั้นคงเป็นไปได๎ยาก
                   สาเหตุเนื่องจากต๎องใช๎ในปริมาณมากจึงจะชํวยเพิ่มผลผลิตได๎ ซึ่งสอดคล๎องกับข๎อมูลของประเสริฐ

                   (2543) วําการใช๎ปุ๋ยคอก (มูลวัว) อยํางเดียวเพื่อการเพิ่มผลผลิตข๎าวนั้น จะต๎องใช๎อัตรา 1.5-3.0 ตัน
                   ซึ่งเป็นอุปสรรคในการจัดหา ควรใช๎ปุ๋ยคอก (มูลวัว) อัตราต่ ารํวมกับปุ๋ยเคมีเป็นวิธีที่ดีกวํา เจริญ และ
                   คณะ (2540) แนะน าให๎ใสํปุ๋ยคอกอัตรา 500-1,500 กิโลกรัม เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให๎แกํดินในกลุํมชุด
                   ดินที่ 17 ซึ่งเนื้อดินคํอนข๎างเป็นทราย สํวนกรมการข๎าว (2559) ได๎แนะน าให๎ใสํปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก

                   อัตรา 600 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใช๎ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ในขณะที่การใสํมูลวัว  1,000
                   กิโลกรัมตํอไรํ ต๎องใช๎ระยะเวลามากกวํา 1 ฤดู จึงจะได๎ผลิตเพิ่มขึ้น

                   4. การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

                          ดินในประเทศไทยมีมากกวํา 200 ชุดดิน แตํละชุดดินมีศักยภาพแตกตํางกัน ในการจ าแนกชุดดิน
                   ใช๎สมบัติของดินที่เปลี่ยนแปลงได๎ยาก เชํน เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน และความเป็นกรดเป็นดําง สิ่ง
                   เหลํานี้เป็นสมบัติของชุดดินที่เปลี่ยนแปลงได๎ยาก ซึ่งแตกตํางจากความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ผันแปรไป
                   ตามการใช๎ประโยชน์ที่ดินและวิธีการจัดการไรํนาของเกษตรกร แนวคิดในการใช๎ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์

                   ดินนั้นจึงเกิดจากการน าข๎อมูลชุดดิน และข๎อมูลวิเคราะห์ N-P-K ในดินตามสภาพปัจจุบัน มาประกอบการ
                   ตัดสินใจใช๎ปุ๋ยเคมีให๎มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โปรแกรมจัดการธาตุอาหารพืชตามคําวิเคราะห์ดินนั้น เป็นการ
                   สร๎างแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยตํางๆ ที่มีสํวนสัมพันธ์กับการเจริญเติบโต
                   และการให๎ผลผลิตของพืช เชํน พันธุ์พืช แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณน้ าฝน ชุดดิน ฯลฯ เพื่อชํวย

                   ค านวณหาปริมาณการใช๎ปุ๋ยเคมีที่มีความสอดคล๎องกับความต๎องการของพืชมากขึ้น  อยํางไรก็ตามความ
                   ถูกต๎องและแมํนย าของการวิเคราะห์ข๎อมูลในแตํละโปรแกรมนั้นจะขึ้นอยูํกับความละเอียดของแบบจ าลอง
                   การวิเคราะห์ปัจจัยตําง ๆ อยํางแมํนย า และมีสํวนสัมพันธ์กับพืชอยํางแท๎จริง รวมถึงต๎องผํานการทดสอบ

                   ผลของการวิเคราะห์ซ้ าหลาย ๆ ครั้ง จนเกิดความเชื่อมั่นในแบบจ าลองนั้นจริง ๆ ในปัจจุบันมีการใช๎
                   โปรแกรมการใสํปุ๋ยตามคําวิเคราะห์ดินเกิดขึ้นหลายโปรแกรม เพื่อสะดวกตํอการใช๎งาน ในสํวนของกรม
                   พัฒนาที่ดินได๎มีการพัฒนา โปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง เพื่อการใช๎ปุ๋ยอยํางมีประสิทธิภาพ
                   และสะดวกตํอการใช๎งาน ซึ่งผู๎ใช๎งานต๎องระบุชุดดิน ระบุชนิดของพืชที่ต๎องการปลูก (โปรแกรมนี้สามารถ
                   เลือกชนิดพืชได๎ 14 ชนิด ได๎แกํ ข๎าว (ไวแสง/ไมํไวแสง) ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ๎อย (ปลูก/ตอ) มันส าปะหลัง

                   ยางพารา ปาล์มน้ ามัน สับปะรด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ลิ้นจี่ ล าไย ทุเรียน และมังคุด) พร๎อมคํา
                   วิเคราะห์ดินซึ่งหากไมํสามารถวิเคราะห์ได๎ในภาวะปัจจุบัน โปรแกรมจะน าข๎อมูลวิเคราะห์ดินจากคําเฉลี่ย
                   ของชุดดินนั้น ๆ มาท าการวิเคราะห์เพื่อหาค าแนะน าที่เหมาะสมในการจัดการการปลูกพืชในพื้นที่นั้น ๆ

                   โดยในค าแนะน านั้นจะประกอบไปด๎วย
                            - วันปลูกที่เหมาะสม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22