Page 14 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              3




                            2.1 ข๎าวเจ๎า ซึ่งเมล็ดข๎าวเจ๎าประกอบด๎วยแปูงอมิโลส (Amylose) ประมาณร๎อยละ 15-30

                   ได๎แกํ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 เหลืองปะทิว สังข์หยด ดอกพะยอม กข 49 กข
                   41 เจ๏กเชยเสาไห๎ และแกํนจันทร์ ฯลฯ เป็นต๎น
                            2.2 ข๎าวเหนียว เมล็ดข๎าวเหนียวประกอบด๎วยแปูงอมิโลเพคติน (Amylopectin) เป็นสํวน
                   ใหญํ และมีแปูงอมิโลส (Amylose) ประมาณร๎อยละ 5-7 ได๎แกํ พันธุ์สันปุาตอง หางยี กข 6 กข 8 กข

                   10 เขี้ยวงู ลืมผัว สกลนคร และกข-แมํโจ๎ 2 ฯลฯ เป็นต๎น (กรมการข๎าว, 2559)
                                 ข๎าวเหนียวพันธุ์ กข-แมํโจ๎ 2 (RD-MAEJO2) คณะกรรมการวิจัยและพัฒนาข๎าวมีมติ
                   ให๎เป็น พันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558 ผสมพันธุ์ครั้งแรกในฤดูนาปี 2547 ที่มหาวิทยาลัยแมํโจ๎
                   โดยใช๎ข๎าวเจ๎าหอมพันธุ์ปทุมธานี 1 ซึ่งใช๎เป็นพันธุ์รับกับข๎าวเหนียวหอมพันธุ์ กข 6 ซึ่งใช๎เป็นพันธุ์ให๎

                   ยีน wx  ซึ่งควบคุมความเป็นข๎าวเหนียว ด๎วยวิธีผสมกลับ และใช๎เครื่องหมายโมเลกุลชํวยในการ
                   คัดเลือก ผลิตเมล็ดชั่วที่ 1 ท าการผสมกลับ 4 ชั่ว แตํละชั่วของการผสมกลับใช๎เครื่องหมายโมเลกุล
                   ชํวยคัดเลือกต๎นที่เป็น Wxwx  และผสมกลับไปหาพันธุ์รับ คือ ข๎าวเจ๎าหอมพันธุ์ปทุมธานี 1 จนได๎ต๎น
                   BC4F1 ที่มียีโนไทป์เป็น Wxwx  และผสมตัวเองได๎เมล็ด BC4F2 คัดเลือกเมล็ดข๎าวเหนียวน าไปปลูก

                   และผสมตัวเองได๎เมล็ด BC4F3 ปลูกศึกษาพันธุ์ 4 แถว จ านวน 2 ฤดู คือ นาปี 2551 และนาปรัง
                   2552 คัดเลือกได๎สายพันธุ์ข๎าวเหนียว  MJUG04002-BC4F5
                                 ผลการคัดเลือกท าให๎ได๎พันธุ์ข๎าวเหนียวไมํไวตํอชํวงแสง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 135

                   วัน ลักษณะกอแบะ ความสูงประมาณ 110 เซนติเมตร ล าต๎นแข็งปานกลาง  ใบสีเขียว มุมปลายใบตั้ง
                   ตรง การแกํของใบแกํช๎า ใบธงยาว 32.16 เซนติเมตร กว๎าง 1.20 เซนติเมตร มุมใบธงตั้งตรง รวงยาว
                   29.75  เซนติเมตร จ านวนเมล็ดดีตํอรวง 113 เมล็ด เมล็ดรํวงงําย ข๎าวเปลือกสีฟาง มีหางบ๎าง มีความ
                   ยาวเฉลี่ย 10.65 มิลลิเมตร กว๎าง 2.47 มิลลิเมตร หนา 1.95 มิลลิเมตร ข๎าวกล๎องสีขาวยาวเฉลี่ย 7.50
                   มิลลิเมตร กว๎าง 2.16 มิลลิเมตร หนา 1.79 มิลลิเมตร จัดเป็นข๎าวรูปรํางเมล็ดเรียว ปริมาณโปรตีนใน

                   เมล็ดข๎าวกล๎อง 8.50 เปอร์เซ็นต์ มีกลิ่นหอมอํอนเหมือนข๎าวเจ๎าหอมพันธุ์ปทุมธานี 1 ผลผลิตประมาณ
                   865 กิโลกรัมตํอไรํ เป็นข๎าวเหนียวมีกลิ่นหอมอํอน เมล็ดเรียวยาว  ต๎นเตี้ย และไมํไวตํอชํวงแสง
                   สามารถปลูกได๎ตลอดทั้งปี เหมาะส าหรับปลูกในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (กรมการข๎าว, 2559)


                   3. วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
                          ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมและเป็นแหลํงผลิตและสํงออกสินค๎าเกษตรที่ส าคัญแหํง
                   หนึ่งของโลก  โดยกลุํมธุรกิจภาคเกษตรกรรมจัดอยูํในกลุํมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอมที่มีการ

                   เจริญเติบโตสูงในระดับประเทศ จึงท าให๎มีวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรจ านวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2552
                   ประเทศไทยมีปริมาณวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตร  59.5  ล๎านตัน  โดยมีปริมาณแกลบ  3.51  ล๎านตัน
                   และซังข๎าวโพด 0.58 ล๎านตัน (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2558) นอกจากวัสดุ
                   ที่มีสัดสํวนเหลือทิ้งอีกมาก ได๎แกํ ชานอ๎อย ใบและยอดอ๎อย ฟางข๎าว ล าต๎นข๎าวโพด ทะลายปาล์ม ใย
                   กะลา และก๎านปาล์ม ฯลฯ เป็นต๎น แตํวัสดุดังกลําวยังไมํได๎ถูกน ามาใช๎ประโยชน์มากนัก อีกทั้งยังมีการ

                   จัดการโดยการเผาในที่โลํงแจ๎ง เป็นสาเหตุหนึ่งของการปลํอยก๏าซเรือนกระจกและมลสารสูํชั้น
                   บรรยากาศ  (สุทธิรัตน์ และคณะ, 2560 ) แตํหากมีการเผาในระบบปิดหรือไพโรไลซิสแบบช๎า (ได๎
                   ของเหลว ของแข็ง และแก๏ส สัดสํวนเทํากับ 30 35 และ 35 เปอร์เซ็นต์) ซึ่งเป็นการให๎ความร๎อนแกํ

                   วัสดุดังกลําวโดยการจ ากัดปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของการเผาอยูํในชํวง 200-500 องศาเซลเซียส
                   จะท าให๎ได๎ถํานชีวภาพจากวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมส าหรับการดูดซับ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19