Page 23 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             12




                              6.1.2 ด๎านการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน จากรายงานของวิชุตา (2556) พบวํา เมื่อ

                   ใสํถํานชีวภาพอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํรํวมกับปุ๋ยคอกอัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎สมบัติของดิน
                   เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตของข๎าวมากขึ้น ได๎แกํ  คําความเป็นกรดเป็นดําง  คําการน าไฟฟูา  ปริมาณ
                   อินทรียวัตถุ คําความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ปริมาณคาร์บอนทั้งหมด ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์  และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎เพิ่มขึ้นอยํางมีนัยส าคัญทาง

                   สถิติ  ส าหรับในรายงานปรเมศ และคณะ (2558) พบวํา การจัดการปุ๋ยและถํานชีวภาพที่แตกตํางกันไมํมี
                   ผลท าให๎ปริมาณไนโตรเจนรวม และความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดินมีความแตกตํางกัน
                   ในทางสถิติ แตํมีผลท าให๎ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปริมาณอินทรียวัตถุ การน าไฟฟูาของเกลือ
                   โพแทสเซียม แคลเซียม และโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได๎มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ อยํางไรก็

                   ตามการใสํปุ๋ยและถํานชีวภาพในอัตราที่สูงมีแนวโน๎มท าให๎ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพิ่มมากขึ้น สํวน
                   รายงานของศิริลักษณ์ และอรสา (2556) พบวํา ถํานชีวภาพชํวยท าให๎ความคําความเป็นกรดเป็นดํางของ
                   ดินเพิ่มขึ้น แตํยังไมํเห็นการเปลี่ยนแปลงของอินทรียวัตถุในดินชัดเจน ซึ่งอ๎างถึง Fontaine (2004) ที่ระบุ
                   วําการใช๎ถํานชีวภาพเพื่อการปรับปรุงดินส าหรับการเกษตรและการสะสมคาร์บอนในดินนั้น ต๎องใช๎

                   ระยะเวลามากกวํา 5 ปีขึ้นไป จึงจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางด๎านอินทรียวัตถุและการเจริญเติบโตของพืช
                   ซึ่งสามารถระบุการเพิ่มผลผลิตของพืชได๎ชัดเจน  ในขณะที่รายงานของดารารัตน์ และคณะ (2561) ซึ่ง
                   ศึกษาการใช๎ถํานชีวภาพตํอการเปลี่ยนแปลงกิจกรรม มวลชีวภาพและสังคมของจุลินทรีย์ในพื้นที่ปลูกผัก

                   ในระบบปลอดสารพิษ พบวํา การใสํถํานชีวภาพที่ผลิตจากแกลบในแปลงผักอัตรา 1,000 1,500 2,000
                   กิโลกรัมตํอไรํ จะชํวยบรรเทาไมํให๎ปริมาณจุลินทรีย์ลดลงอยํางรวดเร็ว และสํงผลท าให๎ปริมาณ
                   อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดินเพิ่มขึ้น โดยสัมพันธ์กับปริมาณถํานชีวภาพที่ใสํในแตํละ
                   อัตรา  บวร (2559) รายงานวําการใช๎ถํานชีวภาพปรับปรุงดินเค็มเพื่อเพิ่มผลผลิตข๎าวขาวดอกมะลิ  105
                   พบวํา ท าให๎ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินหลังการทดลองเพิ่มสูงขึ้น  สํงผลให๎เกิดความ

                   แตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ ในรายงานของเกศศิรินทร์  และคณะ (2561)  พบวํา การใสํถําน
                   ชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัส อัตรา 500, 1,000 และ 2,000 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎สมบัติทางเคมีของดินปลูกมี
                   ความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ  โดยเฉพาะอยํางยิ่งคําความเป็นกรดเป็นดําง  ปริมาณ

                   อินทรียวัตถุ และฟอสฟอรัส มีคําสูงขึ้นเมื่ออัตราการใสํถํานชีวภาพเพิ่มขึ้น สํวนจาวภา และคณะ (2560)
                   รายงานวํา การใสํถํานชีวภาพรํวมกับใสํปุ๋ยมูลไกํอัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎ปฏิกิริยาดินสูงขึ้น ปริมาณ
                   แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ และฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น แตํปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ
                   ไนโตรเจนทั้งหมด และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ลดลง สํวนคําการน าไฟฟูาและความจุในการ

                   แลกเปลี่ยนประจุบวก มีคําใกล๎เคียงกันกับดินกํอนปลูก สํวนพชรพล และสุขุมาภรณ์ (2561) ซึ่งศ ึกษาผล
                   ของการประยุกต์ใช๎ถํานชีวภาพตํอการเติบโตและประสิทธิภาพ ของการสังเคราะห์ด๎วยแสงของพริกขี้หนู
                   ซูเปอร์ฮอท  ภายใต๎สภาวะดินเปรี้ยว พบวํา ดินเปรี้ยวที่ใสํถํานชีวภาพจากซังข๎าวโพดความเข๎มข๎น  2.5,
                   5.0 และ 10.0 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ท าให๎ดินมีคําความเป็นกรดเป็นดําง และความชื้นสัมพัทธ์ของดิน

                   เพิ่มสูงขึ้นอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งแปรผันตามความเข๎มข๎นที่เพิ่มขึ้น   และการใสํถํานชีวภาพจากซัง
                   ข๎าวโพดที่ความเข๎มข๎น 2.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก มีบทบาทในการเพิ่มการเติบโตและเพิ่มประสิทธิภาพ
                   ในการสังเคราะห์ด๎วยแสงของพริกในสภาวะดินเปรี้ยวได๎ โดยให๎ข๎อมูลวําถํานชีวภาพจากซังข๎าวโพด
                   เหมาะส าหรับเป็นวัสดุปรับปรุงดินเปรี้ยวให๎เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตของพริก และเสาวคนธ์ (2557)

                   รายงานวํา การใสํถํานชีวภาพท าให๎อินทรียวัตถุและปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในดินสูงกวําการใสํปุ๋ยเคมี
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28