Page 24 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ ส าหรับคําความเป็นกรดเป็นดํางและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ ไมํมี
ความแตกตํางกันทางสถิติ
6.1.3 ด๎านการดูดใช๎ธาตุอาหาร จากรายงานของเสาวคนธ์ (2557) ที่ศึกษาผลของถําน
ชีวภาพจากไม๎ไผํและแกลบตํอผลผลิต ประสิทธิภาพการดูดใช๎ไนโตรเจนของข๎าวพันธุ์ชัยนาท 1 พบวํา
การใสํถํานชีวภาพ (จากไม๎ไผํ และแกลบ) อัตรา 60 กรัมตํอถัง (1 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก หรือคิดเป็น
อัตรา 2,400 กิโลกรัมตํอไรํ) รํวมกับปุ๋ยเคมีจะชํวยประสิทธิภาพการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจนได๎ดีขึ้น และให๎ผลผลิต
ข๎าวดีกวําการใสํปุ๋ยเคมีอยํางเดียว
6.1.4 ด๎านการปลดปลํอยก๏าสมีเทน จากรายงานของพัชรี และคณะ (2558) ที่ศึกษาการใช๎
ถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัสและฟางข๎าวเพื่อการผลิตข๎าวและลดคาร์บอนฟุตปริ้นท์อยํางเป็นมิตรตํอ
สิ่งแวดล๎อม พบวํา การใช๎ถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัส และฟางข๎าว อัตราเดียวกัน ได๎แกํ 1, 2, 3 และ 4
ตันตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยเคมี ท าให๎ผลผลิตข๎าวไมํแตกตํางกัน การใช๎ถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัสมีความ
คงทนตํอการยํอยสลายโดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน ซึ่งจะลดประชากรของจุลินทรีย์ที่สร๎างมีเทน
(methanogens) แตํกลับเพิ่มประชากรของจุลินทรีย์ที่ใช๎มีเทน(methanotrophs) นอกจากนี้การใช๎ถําน
ชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัส และฟางข๎าวสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอนในดิน โดยถําน
ชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัสจะกักเก็บคาร์บอนในดินได๎สูงกวําฟางข๎าว
6.2 การใช๎ปุ๋ยคอกมูลวัว
ส าหรับผลของการใช๎ปุ๋ยคอกมูลวัวด๎านการเจริญเติบโตและให๎ผลผลิตพืชนั้น จากรายงาน
ของวนิดา (2555) ที่ศึกษาอิทธิพลของการจัดการปุ๋ยตํอการเจริญเติบโต ผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธ์
ข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ ในชุดดินสตึกซึ่งมีลักษณะเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
พบวํา การใสํปุ๋ยคอกมูลวัว อัตรา 1,000 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการฉีดพํนน้ าส๎มควันไม๎ อัตรา 1 มิลลิลิตร
ตํอน้ า 300 มิลลิลิตร ท าให๎ข๎าวพันธุ์ กข.15 มีความสูง จ านวนหนํอตํอกอ จ านวนรวงตํอกอ จ านวนเมล็ดดี
ตํอรวง น้ า แห๎งรวมสํวนเหนือดินเพิ่มขึ้น และมีความแตกตํางอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติกับการไมํใสํปุ๋ย
น้ าส๎มควันไม๎รํวมกับการฉีดพํนน้ าส๎มควันไม๎ การฉีดพํนน้ าส๎มควันไม๎ การใสํปุ๋ยคอกมูลไกํ อัตรา 300
กิโลกรัมตํอไรํ การใสํปุ๋ยคอกมูลวัว อัตรา 1,000 กิโลกรัมตํอไรํ และการใสํปุ๋ยคอกมูลไกํ อัตรา 300
กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการฉีดพํนน้ าส๎มควันไม๎ ส าหรับรายงานของเกริก (2550) ซึ่งศึกษาผลของการใช๎ปุ๋ย
ตํอคุณภาพดินและน้ าในดินนาข๎าว พบวํา การใสํปุ๋ยคอกมูลวัวอัตรา 1,000 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎ปริมาณ
อินทรียวัตถุในดินสูงกวําการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีของเกษตรกร แม๎วําให๎ผลผลิตต่ ากวํา แตํให๎ตอบแทนทาง
เศรษฐกิจสูง และสํงผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมน๎อยที่สุด สํวนรายงานของบุญฤทธิ์ และสมยศ (2559) ที่มี
การศึกษาผลของปุ๋ยมูลสัตว์ที่มีตํอการเจริญเติบโต และผลผลิตของหญ๎าหวาน (Stevia rebaudiana
Bertoni) พบวํา การใสํปุ๋ยมูลไกํท าให๎การเจริญเติบโตทางล าต๎น และการสะสมน้ าหนักต๎น ใบ และราก
แห๎งของหญ๎าหวาน มีคํามากกวําการใสํปุ๋ยมูลวัว สํวนการใสํปุ๋ยในอัตราที่แตกตํางกันนั้น การใสํปุ๋ยมูลสัตว์
อัตรา 4.0 ตันตํอไรํ มีการเจริญเติบโตทางล าต๎นของหญ๎าหวานมากที่สุด รองลงมาคือ การใสํปุ๋ยมูลสัตว์
อัตรา 3.0 และ 2.0 ตันตํอไรํ ตามล าดับ สํวนการใสํปุ๋ยปุ๋ยมูลสัตว์อัตราที่ต่ าที่สุดคือ 1.0 ตันตํอไรํ มีการ
เจริญเติบโตทางล าต๎น และการสะสมน้ าหนักแห๎งมีคําน๎อยที่สุด แตํไมํพบสหสัมพันธ์ระหวําง ชนิดของปุ๋ย
มูลสัตว์ และอัตราการใสํปุ๋ย ในรายงานของเบ็ญจพร และวันเฉลิม (2560) ซึ่งศึกษาการจัดการปุ๋ยตํอการ
เจริญเติบโต ผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินนาที่มีเนื้อ
ดินเป็นดินรํวนปนทราย พบวํา การใสํปุ๋ยเคมี (สูตร 16-16-8 อัตรา 40 กิโลกรัมตํอไรํ และ 46-0-0 อัตรา