Page 18 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              7




                            - ผลผลิตที่คาดคะเน (กิโลกรัมตํอไรํ)

                            - ค าแนะน าการใช๎ปุ๋ยเคมี พร๎อมการเปรียบเทียบราคาปุ๋ยที่ค านวณจากปริมาณธาตุอาหารที่
                   แนะน า
                            - ค าแนะน าการจัดการดิน ข๎อจ ากัดการใช๎ประโยชน์ การใช๎วัสดุปูนในการปรับความเป็นกรด
                   ของดิน ซึ่งทั้งหมดนี้จะมีระบบตรวจสอบข๎อมูลค าแนะน าการจัดการ พร๎อมระดับความเชื่อมั่นของ

                   ค าแนะน า เพื่อประกอบการตัดสินใจส าหรับน าไปปฏิบัติตํอไป (รสมาริน, 2553)
                          การใสํปุ๋ยเคมีให๎กับข๎าวนับวํามีความส าคัญตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวเป็นอยํางยิ่ง
                   ถ๎าหากใช๎ในปริมาณที่มากเกินไปนอกจากจะเป็นการสิ้นเปลือง ยังมีผลกระทบในระยะยาวตํอความอุดม
                   สมบูรณ์ของดิน การใสํปุ๋ยเคมีให๎มีประสิทธิภาพ ผู๎ใช๎ต๎องรู๎จักพืช รู๎จักดิน รู๎จักปุ๋ย และรู๎จักวิธีการใสํปุ๋ย

                   ได๎แกํ การใสํให๎ถูกต๎องตามชนิดของปุ๋ย ถูกที่ ถูกเวลา ถูกวิธี และถูกปริมาณ ซึ่งก็คือ การใช๎ปุ๋ยตาม
                   ค าแนะน า การใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าปุ๋ยสั่งตัด และการใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าตามคําวิเคราะห์ดิน เป็นต๎น
                                การใช๎ปุ๋ยตามคําวิเคราะห์ดินเป็นการใช๎ปุ๋ยเคมีให๎ประสิทธิภาพมากขึ้น  ผลการวิเคราะห์ธาตุ
                   อาหารพืชในดิน สามรถน ามาใช๎เป็นแนวทางส าหรับการแนะน าชนิดและอัตราปุ๋ยตามชนิดพืชที่ปลูก โดย

                   ดินที่มีธาตุอาหารต่ า จะต๎องเพิ่มธาตุอาหารดังกลําวในรูปของปุ๋ยให๎เพียงพอ แตํถ๎าในดินมีธาตุอาหารสูงก็
                   เพิ่มลงไปเพียงเล็กน๎อย เพราะหากใสํปุ๋ยมากเกินความจ าเป็นนอกจากเป็นการสิ้นเปลืองคําใช๎จํายแล๎ว อาจ
                   ท าให๎พืชที่ปลูกไมํตอบสนอง ดูดใช๎ธาตุอาหารอื่น ๆ ได๎น๎อยลง และเกิดปัญหาปุ๋ยตกค๎างในดิน ดังนั้น การ

                   ใสํปุ๋ยให๎เกิดประโยชน์สูงสุดแกํพืชควรใสํตามความจ าเป็น เพื่อให๎ดินมีปริมาณธาตุอาหารพืชอยํางเพียงพอ
                   และเป็นการลดต๎นทุนของเกษตรกรในการซื้อปุ๋ยอีกด๎วย ปัจจุบันการวิเคราะห์ดินสามารถท าได๎ละเอียด
                   และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เกษตรกรสามารถวิเคราะห์ได๎เองโดยใช๎ชุดตรวจสอบดินแบบงําย (test kit) ท าให๎
                   เกษตรกรสามารถน าคําวิเคราะห์ดินที่ได๎จริงในพื้นที่ไปใช๎ประโยชน์ สามารถเลือกใช๎ชนิดหรืออัตราของ
                   ปุ๋ยเคมีได๎อยํางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2559)


                   5. ความต้องการธาตุอาหารหลักของข้าว
                           ในการผลิตข๎าวเพื่อให๎ได๎น้ าหนักผลผลิต 1 ตัน ข๎าวจะต๎องได๎รับธาตุอาหารหลัก ได๎แกํ ไนโตรเจน
                   15-20 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส  2-3 กิโลกรัม โพแทสเซียม  15-20 กิโลกรัม (Dobermann and Fairhurst,

                   1999) หากพิจารณาตามความต๎องการธาตุหลักของข๎าว (crop  Requirement) ในดินต๎องมีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุไมํต่ ากวํา 1.5 เปอร์เซ็นต์  ปริมาณฟอสฟอรัสและปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ไมํน๎อย
                   กวํา 15 และ 40 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม ตามล าดับ (ค ารณ, 2556) ซึ่งธาตุอาหารดังกลําว มีความส าคัญตํอ

                   การเจริญเติบและให๎ผลผลิตข๎าว ดังนี้
                           5.1 ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบอยูํในกรดอะมิโน นิวคลีโอไทด์ เอ็นไซม์  โคเอ็นไซม์ คลอโรฟิลล์
                   และสารประกอบส าคัญในพืชอีกหลายชนิด  ไนโตรเจนในใบพืชประมาณ  70  เปอร์เซ็นต์  อยูํในคลอโรพ
                   ลาสท์ และมีการคาดวําพืชที่มีใบจ านวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของไนโตรเจนทั้งหมดจะอยูํในออร์กาเนลส์
                   (ยงยุทธ  และสุรเดช,  2521)  ไนโตรเจนโดยทั่วไปอยูํในรูปสารประกอบไนโตรเจนอินทรีย์  แอมโมเนียม
                              +
                                                      -
                   ไอออน (NH ) และไนเตรทไอออน (NO ) ไนโตรเจนในดินที่เป็นประโยชน์ประมาณ 95-99 เปอร์เซ็นต์
                                                     3
                             4
                   จะอยูํในรูปอินทรีย์ทั้งในเศษพืชและสัตว์ในรูปอินทรียวัตถุที่คํอนข๎างอยูํตัว  หรือในจุลินทรีย์ที่มีชีวิต
                   ไนโตรเจนรูปนี้ไมํสามารถเป็นประโยชน์โดยการกระท าของจุลินทรีย์  ไนโตรเจนอินทรีย์จ านวนน๎อยอาจอยูํ
                   ในสารประกอบอินทรีย์ที่ละลายน้ าได๎  เชํน  ยูเรียที่อาจเป็นประโยชน์ตํอพืชได๎  ส าหรับไนโตรเจนที่เป็น
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23