Page 15 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
คาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ และยังสามารถน าถํานชีวภาพวัสดุดังกลําวไปใช๎ในภาคเกษตรได๎
(อรสา, 2552) เชํนเดียวกับการใช๎ปุ๋ยคอก (มูลวัว) เพื่อปรับปรุงดิน ดังนี้
3.1 ถํานชีวภาพ (biochar) เป็นวัสดุที่ได๎จากการเผามวลชีวภาพภายใต๎สภาพมีออกซิเจนต่ า
ซึ่งถํานชีวภาพที่ได๎มีคุณสมบัติในการหมุนเวียนธาตุอาหารพืช ซึ่งเป็นวัสดุที่อุดมด๎วยคาร์บอน เพิ่ม
ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร เพิ่มความสามารถในการอุ๎มน้ าของดิน และปรับปรุงสมบัติทาง
ชีวภาพของดินจึงสํงผลท าให๎ผลผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงเป็นที่อยูํของจุลินทรีย์ (Lehmann et al., 2003,
Steiner et al., 2007) มีคําความจุแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง จึงสามารถดูดซับประจุในดินได๎ดี และมี
สถานะเป็นประจุลบ (ทวีวงศ์, 2554) มีคําความหนาแนํนรวมต่ า (Abel et al., 2013; Asai et al.,
2009; Cao & Harris, 2010) มีคําความเป็นกรดเป็นดํางสูง จึงชํวยลดความเป็นกรดของดิน กระตุ๎น
การท างานของจุลินทรีย์ดิน และยังมีบทบาทชํวยลดภาวะโลกร๎อนได๎ (ทัศนีย์, 2551) เป็นวัสดุที่มี
ศักยภาพในการใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดินได๎ เชํน ดินทรายจัด หรือดินเสื่อมโทรมอื่นๆ (รัตถชล และคณะ,
2560) นอกจากนี้วัสดุที่ใช๎เผาถํานชีวภาพแตํละชนิดจะให๎สมบัติทางเคมีแตกตํางกัน จึงสํงผลให๎การ
เจริญเติบโตของพืชแตกตํางกันด๎วย (เสาวคนธ์, 2557) ทั้งนี้เนื่องจากถํานชีวภาพเป็นวัสดุที่มีปริมาณ
คาร์บอนที่ทนทานตํอการยํอยสลายในปริมาณมากโดยเฉพาะมีอะโรมาติกคาร์บอน ดังนั้น ถํานชีวภาพ
จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดิน และสามารถลดปริมาณการปลดปลํอยก๏าซเรือน
กระจก (พัชรี และคณะ, 2558) ซึ่งสอดคล๎องกับอรสา (2552) ได๎สรุปประโยชน์ของถํานชีวภาพ
โดยทั่วไปไว๎ ดังนี้
1) ชํวยบรรเทาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เนื่องจากถํานชีวภาพมีความสามารถลด
คาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศในระยะยาวได๎ ด๎วยการกักเก็บคาร์บอนไว๎ในดิน
2) ชํวยปรับปรุงดินและผลผลิตทางการเกษตร เนื่องจากเมื่อน าถํานชีวภาพลงดิน
ลักษณะความเป็นรูพรุนของถํานชีวภาพจะชํวยกักเก็บน้ าและอาหารในดิน และเป็นที่อยูํให๎กับ
จุลินทรีย์ส าหรับท ากิจกรรมเพื่อสร๎างอาหารให๎ดิน เมื่อดินอุดมสมบูรณ์จะสํงผลให๎ผลผลิตทางการ
เกษตรเพิ่มขึ้น
3) ชํวยผลิตพลังงานทดแทน เนื่องจากกระบวนการผลิตถํานชีวภาพจากมวลชีวภาพด๎วย
การแยกสลายด๎วยความร๎อนจะให๎พลังงานชีวภาพที่สามารถใช๎เป็นพลังงานทดแทน เพื่อการขนสํงและ
ในระบบอุตสาหกรรมได๎
4) ชํวยในกระบวนการจัดการของเสียประเภทวัสดุอินทรีย์ได๎ เนื่องจากเทคโนโลยีไบ
โอชาร์มีศักยภาพในการก าจัดของเสียที่ท าให๎สิ่งแวดล๎อมเป็นมิตรได๎
ส าหรับถํานชีวภาพที่ผํานกระบวนการไพโรไลซิส (กระบวนการสลายตัวของสารด๎วย
ความร๎อนในสภาวะไร๎อากาศหรืออับอากาศ) มีคุณสมบัติที่ดีในการสํงเสริมสมบัติทางเคมี กายภาพ
และชีวภาพของดิน ดังนี้
1) คุณสมบัติของถํานชีวภาพที่มีผลตํอสมบัติทางเคมีของดิน ถํานชีวภาพที่ได๎จากการเผา
ไหม๎ในสภาพอับอากาศจะมีความพรุนสูง มีโครงสร๎างทางเคมีเป็นพวกอะโรมาติกคาร์บอน ซึ่งสามารถ
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได๎สูงและเกิดหมูํฟังก์ชันตําง ๆ โดยเฉพาะคาร์บอกซิล คือ มีประจุลบสุทธิที่
พื้นที่ผิวปริมาณมาก หรือท าให๎มีความจุแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง ประกอบกับถํานชีวภาพเป็นวัสดุที่มี
ความพรุนสูงจึงมีพื้นที่สัมผัสมากด๎วย ท าให๎สามารถดูดซับธาตุอาหารพืชซึ่งอยูํในรูปไอออนได๎เป็น
จ านวนมากและชํวยลดการสูญเสียธาตุอาหารโดยการชะละลาย ไมํวําธาตุอาหารในดินจะได๎รับจาก