Page 12 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              1




                                                       หลักการและเหตุผล


                            เขตพัฒนาที่ดินเป็นพื้นที่ที่กรมพัฒนาที่ดินได๎ผสมผสานกิจกรรมตํางๆ ด๎านการพัฒนาที่ดินลงใน
                   พื้นที่เพื่อใช๎เป็นศูนย์กลางการถํายทอดเทคโนโลยีสูํเกษตรกร เพื่อที่จะลดความเสี่ยง การกระจายรายได๎
                   ลดต๎นทุนการผลิต ตลอดจนสนับสนุนแผนการผลิตของเกษตรกรตามแผนฟื้นฟูการเกษตร ให๎เกษตรกร

                   เห็นถึงทางเลือกที่เหมาะสมกับสภาพดิน และปัจจัยแวดล๎อมอื่นๆ ให๎เป็นตัวอยํางแกํเกษตรกรน าไป
                   ตัดสินใจในการวางแผนและด าเนินการเอง ส าหรับในเขตพัฒนาที่ดินบ๎านน้ าลอก ต าบลบํอทอง อ าเภอ
                   ทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่รวมประมาณ 5,456 ไรํ โดยเป็นพื้นที่นาข๎าวประมาณ 1,407 ไรํ
                   ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์ประมาณ 613 ไรํ และที่เหลือเป็นปุาไม๎ (ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 8, 2549) ในแตํละปี

                   จะมีวัตถุเหลือใช๎ทางการเกษตร เชํน แกลบ และซังข๎าวโพด ประมาณ 43.66 และ 92.40 ตันตํอพื้นที่ตํอปี
                   ตามล าดับ ซึ่งเกษตรกรใช๎วิธีการเผาท าลาย นอกจากจะท าให๎เกิดปัญหาหมอกควันแล๎ว ยังท าให๎สูญเสีย
                   คาร์บอนไปในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์ด๎วย พื้นที่นาข๎าวสํวนใหญํมีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย
                   ความสามารถในการอุ๎มน้ าไมํดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินมีปฏิกิริยาเป็นกรดรุนแรง สํงผลให๎ประสิทธิภาพ

                   ของการใช๎ปุ๋ยเคมีลดลง ท าให๎ปริมาณการใช๎ปุ๋ยเคมีสูงขึ้น ต๎นทุนการผลิตจึงสูงขึ้นตามไปด๎วย ซึ่งในพื้นที่
                   ผลผลิตข๎าวเหนียวเฉลี่ย 566  กิโลกรัมตํอไรํ  (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) เกษตรกรจึงมักหา
                   พันธุ์ข๎าวใหมํ ๆ ที่มีศักยภาพในการให๎ผลผลิตสูงมาปลูกในพื้นที่อยูํเสมอ เชํน ข๎าวเหนียวพันธุ์ กข-แมํโจ๎ 2

                   ข๎าวที่ไมํไวตํอชํวงแสง และผลผลิตคํอนข๎างสูง แตํอยํางไรก็ตามมีการใช๎ปุ๋ยเคมีในอัตราที่ไมํเหมาะสม และ
                   ขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน ซึ่งในพื้นที่มีวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรมากพอที่จะใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดินได๎
                   เชํน แกลบและซังข๎าวโพดเมื่อน ามาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ โดยเฉลี่ยจะได๎ธาตุไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-
                   โพแทสเซียม เทํากับ 0.46-0.26-0.70 และ 1.07-0.51-1.19 ร๎อยละโดยน้ าหนัก ตามล าดับ โดยมี
                   ค าแนะน าให๎ใช๎อัตรา 2.0-4.0 ตันตํอไรํ ส าหรับปุ๋ยคอก (มูลวัว) ที่แนะน าให๎ใช๎อัตรา 1.0-3.0 ตันตํอไรํ โดย

                   ใช๎รํวมกับปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 15-30 กิโลกรัมตํอไรํ ส าหรับการปลูกข๎าว (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
                          อยํางไรก็ตามมีอีกแนวทางหนึ่ง คือการน าแกลบและซังข๎าวโพดมาผํานกระบวนการเผาในระบบ
                   ปิด ภายใต๎สภาพมีออกซิเจนต่ า จะท าให๎ได๎ถํานชีวภาพ ซึ่งเป็นวัสดุที่อุดมด๎วยคาร์บอนและมีรูพรุนตาม

                   ธรรมชาติ เมื่อใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดินจะชํวยลดความเป็นกรดของดิน เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมน ้า และ
                   ชํวยดูดยึดธาตุอาหารได๎ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังชํวยกระตุ๎นการท างานของจุลินทรีย์ดิน และมีศักยภาพใน
                   การปรับปรุงดินทรายจัด หรือดินเสื่อมโทรมอื่น ๆ ได๎ แตํต๎องใช๎ในอัตราที่มากพอจึงจะพอที่จะมีผลตํอการ
                   เปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน และผลผลิตข๎าวได๎ ซึ่งโดยทั่วไปนิยมใช๎ในอัตรามากกวํา 1 ตันตํอไรํ

                          ดังนั้น ควรมีการศึกษาผลของการใช๎วัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตร โดยการน ามาเผาเป็นถํานชีวภาพ
                   กํอนใช๎ ได๎แกํ ถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ รวมทั้งปุ๋ยคอก (มูลวัว) ในอัตราที่ต่ ากวําค าแนะน า โดยใช๎
                   รํวมกับปุ๋ยเคมีตามอัตราค าแนะจากคําวิเคราะห์ดินในนาข๎าวที่มีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย  เพื่อเป็น
                   ทางเลือกให๎กับเกษตรกรในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินบ๎านน้ าลอก เกิดความยั่งยืนในการใช๎ประโยชน์พื้นที่

                   เกษตรกรรม ลดการเผาในพื้นที่โลํง และปัญหาหมอกควันในฤดูแล๎ง
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17