Page 41 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        34


                   ฮิวมัสที่เกิดขึ้นนี้อาจจะมีถึง 25 เปอร์เซ็นต์ และจะย่อยสลายต่อไปอย่างช้ามาก แต่ก็คงตัวเพียงพอที่จะไม่
                   ร้อนขึ้นมาอีกหรือก่อให้เกิดกลิ่นรบกวนหรือเป็นที่เกิดของแมลงวัน

                          Haug (1980) จ ากัดความกระบวนการเป็นปุ๋ยหมักว่า เป็นการย่อยสลายและการท าให้คงตัวทาง
                   ชีววิทยาของวัสดุอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่เอื้อต่อการสะสมอุณหภูมิจนสูง ซึ่งเป็นผลจากการสร้างความร้อน
                   โดยปฏิกิริยาทางชีววิทยา ผลผลิตสุดท้ายที่ได้จะมีความคงตัวเพียงที่จะน าไปเก็บและใส่ลงดินโดยไม่
                   ก่อให้เกิดผลร้ายต่อสิ่งแวดล้อม

                          Finstein (1975) กระบวนการเป็นปุ๋ยหมักเป็นเหมือนปรากฏการณ์ซึ่งมวลของวัสดุอินทรีย์มี
                   แนวโน้มเกิดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจากภายในกองวัสดุและผลิตผลที่ได้ถูกน าไปใช้ประโยชน์เพื่อ
                   เศรษฐกิจ กระบวนการเป็นปุ๋ยหมักสามารถน าไปใช้เป็นเทคโนโลยีเพื่อการก าจัดของเสียเพราะเป็น

                   กระบวนการที่มุ่งใช้วัสดุที่เน่าเหม็น ก่อให้เกิดการลดลงของปริมาตรน้ าหนักและปริมาตรน้ า ผลิตวัสดุ
                   สุดท้ายที่คงตัวและเป็นกระบวนการที่ลดจ านวนเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค
                          Finstein และคณะ (1982) กระบวนการเป็นปุ๋ยหมักนี้แตกต่างจากการย่อย หรือการหมัก ตรงที่
                   สารที่น ามาย่อยสลายนั้น เริ่มแรกเป็นของแข็ง ซึ่งมีช่องว่างเปิดมากกว่าที่จะเป็นของแข็ง ในของเหลวหรือ
                   ในกึ่งของเหลว กระบวนการเกิดขึ้นในสภาพไม่มีอากาศ ในที่มีอุณหภูมิปานกลาง ไปจนถึงอุณหภูมิสูง แต่

                   สภาพที่เอื้ออ านวยให้เกิดการย่อยสลายอย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ที่สุดก็คือ สภาพที่มีอากาศและอุณหภูมิ
                   สูง ผลผลิตสุดท้ายของกระบวนการเป็นปุ๋ยหมัก คือส่วนผสมของอนุภาคที่คงตัวและมีประโยชน์โดยใช้เป็น
                   สิ่งที่ช่วยปรับสภาพดินปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีววิทยาของดินให้ดีขึ้น และมีผล

                   ก่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิตพืช
                          Bredenbach (1971) กระบวนการย่อยสลายอาจเกิดได้ตามธรรมชาติเช่นการย่อยสลายของเศษ
                   ใบไม้ในป่าหรือการย่อยสลายของรากพืชที่ตายแล้วในดิน นอกจากนี้ยังอาจเป็นกระบวนการที่มนุษย์เป็นผู้
                   กระตุ้นเร่งให้เกิดขึ้นก็ได้เช่นการเพิ่มเชื้อจุลินทรีย์ที่ย่อยเซลลูโลสลงไปในกองปุ๋ยหมัก

                          หลักของกระบวนการเป็นปุ๋ยหมัก การย่อยสลายวัสดุอินทรีย์เกิดขึ้นโดยกลุ่มของจุลินทรีย์ชนิด
                   ต่างๆ กันไป ซึ่งมีทั้งเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา แอคติโนมัยซีสและโปรโตซัว เชื้อจุลินทรีย์ที่มีบทบาทส าคัญเป็น
                   อย่างยิ่งในกระบวนการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรก็คือ เชื้อจุลินทรีย์พวกที่ย่อยเซลลูโลสและ
                   ลิกนิน จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการย่อยสลายได้รับพลังงานและคาร์บอนจากการย่อยสลายวัสดุที่มี

                   คาร์บอนเป็นองค์ประกอบ  จุลินทรีย์จะใช้คาร์บอน 10 ส่วน ไนโตรเจน 1 ส่วน    ส าหรับการสร้างเซลล์
                   โปรโตพลาส
                          วัตถุประสงค์ คุณประโยชน์ และข้อจ ากัดของกระบวนการปุ๋ยหมัก คือ เป็นการท าให้วัสดุเหลือทิ้ง
                   มีความคงตัว กิจกรรมทางชีววิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการเป็นปุ๋ยหมักจะเปลี่ยนรูปแบบที่เน่าเสียได้

                   ของวัสดุเหลือทิ้งอินทรีย์ให้เป็นรูปแบบที่คงตัวขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้อยู่ในรูปอินทรีย์ซึ่งจะก่อให้เกิดผล
                   ที่เป็นมลภาวะเพียงเล็กน้อยถ้าปล่อยลงดินหรือลงน้ า ยับยั้งเชื้อโรค ความร้อนที่เกิดขึ้นในกองปุ๋ยหมัก
                   อาจจะสูงถึงประมาณ 60 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่พอเพียงที่จะยับยั้งเชื้อโรคส่วนใหญ่ เช่น เชื้อ

                   แบคทีเรีย ไวรัส และไข่พยาธิ โดยมีข้อแม้ว่าอุณหภูมิที่ว่าต้องคงที่เป็นเวลาอย่างน้อย 1 วัน ดังนั้นปุ๋ยหมัก
                   ที่ได้สามารถน าไปเป็นปุ๋ยและวัสดุปรับปรุงโครงสร้างของดินได้อย่างปลอดภัย การน าธาตุอาหารพืช
                   กลับมาเป็นประโยชน์ใหม่และการน ามาใช้ปรับปรุงดิน ธาตุอาหารพืช N P K ที่มีอยู่ในของเหลือทิ้งมักจะ
                   อยู่ในรูปแบบอนินทรีย์ ซึ่งเหมาะสมส าหรับการดูดซึมของพืช     โดยการชะล้างเพราะธาตุอาหารพืชรูป
                   อนินทรีย์ส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่ไม่ละลายน้ า ซึ่งเป็นรูปแบบที่ถูกชะล้างได้น้อยกว่ารูปแบบที่ละลายน้ าของ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46