Page 39 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        26



                   เพื่อการจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าแต่มีผลผลิตน้อยกว่าเพียง 7 ถึง 11 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น
                   การจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า มีผลดีต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องต่อไปในระยะยาว การจัดท า
                   ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยเฉพาะมาตรการวิธีกลสามารถใช้พื้นที่ที่สูญเสียไปจากการท ามาตรการฯ

                   น ามาปลูกไม้ผลอยู่บนระบบอนุรักษ์ดินและน้ าได้อีก และการเจริญเติบโตของไม้ผล (ต้นพลับ) ด้านต่าง ๆ
                   จะดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า การปลูกพืชไร่หรือพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ
                   เช่น พืชผักและไม้ผลในพื้นที่ที่ได้จัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า การปลูกพืชที่มีอายุสั้นและมี
                   ผลตอบแทนที่ดีและสามารถปลูกได้หลายครั้งต่อปี ประกอบกับการปลูกไม้ผลที่สามารถให้ผลผลิตได้

                   รวดเร็วในระยะสั้นและเป็นไม้ผลที่สามารถดูแลรักษาได้ง่าย มีความทนทานมาปลูกเสริมในระบบอนุรักษ์
                   ดินและน้ า ท าให้มีผลตอบแทนต่อพื้นที่ที่ดีขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
                            ศรัญณุพงศ์ (2557) ได้ศึกษาประสิทธิภาพของแถบพืชเป็นมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อ

                   การปลูกข้าวโพดบนพื้นที่ดอนพื้นที่จังหวัดพะเยา พบว่า การปลูกน้อยหน่าร่วมกับเศษพืช มีปริมาณการ
                   สูญเสียดินต่ าสุดเท่ากับ 132 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต่ ากว่าวิธีของเกษตรกร ซึ่งไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   (390 กิโลกรัมต่อไร่) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ  ในด้านผลผลิตของข้าวโพด การปลูกน้อยหน่า มะนาว
                   กาแฟ และชา ร่วมกับเศษพืช เป็นแถบพืชอนุรักษ์ดิน ให้ผลผลิตข้าวโพดเฉลี่ยใกล้เคียงกัน คือ 1,017,
                   945,  884  และ 840 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ และไม่แตกต่างกันทางสถิติกับวิธีเกษตรกรที่ไม่มีระบบ

                   อนุรักษ์ดินและน้ า (841 กิโลกรัมต่อไร่)
                            ทนงศักดิ์ และคณะ (2557)  ได้ศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมของคูรับน ้าขอบเขาเพื่อการอนุรักษ์ดิน
                   และน ้าบนพื้นที่สูง ชุดดินหนองมด (Nm) กลุ่มชุดดินที่ 29 อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย พบว่า คันคูรับ

                   น้ าขอบเขาระยะห่างในแนวดิ่ง 4.5 เมตร มีการสูญเสียตะกอนดินมากที่สุดคิดเป็นปริมาณธาตุอาหาร
                   เท่ากับ 62.29 กิโลกรัม รองลงมาคือ ระยะห่างในแนวดิ่งเท่ากับ 4.0  3.5 เมตร และ 3.0 เมตร ตามล าดับ
                   มีปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียไปเท่ากับ 29.88 23.67 และ 11.95 กิโลกรัม ตามล าดับ ส่วนผลผลิตข้าวไร่
                   พบว่า ระยะห่างในแนวดิ่งของคันคูรับน้ าขอบเขาระยะห่างในแนวดิ่ง 4.0  เมตร มีผลต่อปริมาณและ

                   คุณภาพของผลผลิตข้าวไร่
                                       2.1.3) การไถพรวนตามแนวระดับ (Contour Tillage) การไถพรวนและปลูกพืช
                   ตามแนวระดับเป็นการไถพรวน หว่าน ปลูกและเก็บเกี่ยวพืชไปตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่
                   วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการซาบซึมน้ าของดิน และรักษาความชุ่มชื้นในดิน และเพื่อควบคุมการไหลบ่าของ

                   น้ าและการชะล้างพังทลายของดิน โดยมีหลักการปลูกพืชตามแนวระดับขึ้นกับลักษณะของดิน
                   ความลาดเท ลมฟ้าอากาศ และลักษณะการใช้ที่ดิน การปลูกพืชตามแนวระดับที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดควร
                   ปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทต่ าประมาณร้อยละ 2-7 และความยาวของความลาดเทไม่เกิน 100 เมตร
                   ในพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง และมีการใช้ร่วมกับมาตรการอื่นๆ เช่น คันดิน และขั้นบันไดดิน

                          สุนีย์รัตน์ (2557) ได้ศึกษาผลของการไถพรวนในระบบปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้าที่มีต่อ
                   การสูญเสียดินบนพื้นที่ดอน ชุดดินหนองมด (Nm)  กลุ่มชุดดินที่ 29 อ าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
                   พบว่า การปลูกข้าวโพดโดยไม่ไถพรวนดินร่วมกับระบบอนุรักษ์ดินและน้ าและแถบหญ้าแฝก เป็นวิธีการที่
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44