Page 40 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        27



                   ดีที่สุด เนื่องจากให้ผลผลิตไม่แตกต่างจากวิธีการอื่น ลดต้นทุนในการไถเตรียมพื้นที่ มีปริมาณการสูญเสีย
                   ดินน้อยที่สุด วิธีการนี้จึงเหมาะสมในการแก้ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ความลาดชันสูงได้
                                        2.1.4) อาคารชะลอความเร็วของน้ า (check dam) อาคารชะลอความเร็วของ

                   น้ าเป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินแบบร่องลึก เพื่อชะลอความเร็วของน้ า
                   และช่วยให้เกิดการตกตะกอนทับถมในร่องน้ า  ท าให้ร่องน้ าตื้นเขิน  ช่วยให้พืชต่าง ๆ  ในร่องน้ าที่เพิ่ง
                   งอกใหม่ไม่ถูกน้ าพัดพาไปสามารถเจริญเติบโตขึ้นปกคลุมร่องน้ าได้เร็วขึ้น โดยสร้างขวางเป็น
                   ช่วง ๆ  ในร่องน้ าที่มีการกัดเซาะ อาจสร้างด้วยเศษไม้  เศษพืช  หิน  ดิน  หรือคอนกรีตก็ได้  หรือเป็น

                   สิ่งก่อสร้างที่ช่วยลดปัญหาการกัดเซาะในทางระบายน้ าที่ปูด้วยหญ้าใช้กับพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายแบบ
                   ร่องลึก หรือในทางระบายน้ า
                                        2.1.5) บ่อน้ าในไร่นา (Farm Pond) หรือบ่อขุด (Excavated Pond) คือ บ่อน้ า

                   หรือสระเก็บน้ าที่ขุดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้ าฝน น้ าท่า น้ าที่ไหลออกจากดินและน้ าที่ไหลผ่านผิวดินลง
                   ในบ่อ โดยขุดดินให้มีขนาดกว้าง ยาว และลึก ตามจ านวนน้ าที่ต้องการจะเก็บกักไว้ และน าดินที่ขุดนั้นมา
                   ถมเป็นคันรอบสระเพื่อท าเป็นบ่อน้ าในไร่นา  สิ่งส าคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกพื้นที่สร้างสระน้ า
                   เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการขุดสระแล้วไม่ได้น้ า คือ ลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลต่อปริมาณน้ าที่จะ
                   เก็บกัก เช่น ความลึกของดิน เนื้อดิน และความซึมน้ า หรือความสามารถของดินที่ให้น้ าซึมผ่าน

                   (Permeability) ในระดับความลึก 1 เมตร ซึ่งมีผลต่อปริมาณการไหลซึมของน้ า (Seepage) และปริมาณ
                   ของก้อนหินจะมีผลต่อความยากง่ายในการขุด
                                        2.1.6) ทางระบายน้ า (Waterway) ทางระบายน้ าเป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อ

                   รับน้ าจากพื้นที่ต่างๆ ซึ่งถูกเบนมาเพื่อให้ไหลไปยังแหล่งที่ต้องการ เช่น อ่างเก็บน้ า ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และ
                   แหล่งน้ าธรรมชาติ เป็นต้น ทางระบายน้ าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544) คือ
                                              (1)  Mechanical  Waterways  เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยวัสดุ
                   ถาวร เช่น สร้างด้วยอิฐ หิน และคอนกรีต

                                              (2) Vagetated Waterways เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยการปูแต่ง
                   พื้นร่องน้ าด้วยหญ้าหรือพืชชนิดอื่น ๆ
                                   2.2) มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยวิธีพืช (Vegetative  Measures) คือ วิธีการ
                   อนุรักษ์ดินและน้ า โดยวิธีทางการพืชโดยการปลูกพืชหรือใช้ส่วนใด ๆ ของพืชท าให้เป็นแถบหรือเป็นแนว

                   หรือปกคลุมผิวดินหรืออื่น ๆ เพื่อป้องกันเม็ดฝนมิให้กระทบผิวดินโดยตรง และลดการชะล้างผิวหน้าดิน
                   เพิ่มอินทรียวัตถุในดินและปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพ ช่วยควบคุมวัชพืช และช่วยปรับสภาพแวดล้อม
                   บริเวณที่ปลูกพืชให้เหมาะสม มาตรการที่นิยมใช้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544) ได้แก่
                                        2.2.1)  การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour  Cultivation)  เป็นการไถพรวน

                   และปลูกพืชตามแนวระดับเป็นการไถพรวน หว่าน ปลูก และเก็บเกี่ยวพืชไปตามแนวระดับขวางความ
                   ลาดเทของพื้นที่ เพื่อเพิ่มการซาบซึมน้ าของดิน และรักษาความชุ่มชื้นในดิน  และเพื่อควบคุมการไหลบ่า
                   ของน้ าและการชะล้างพังทลายของดิน  ประสิทธิภาพของการปลูกพืชตามแนวระดับนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ

                   ของดิน ความลาดเท ลมฟ้าอากาศ และลักษณะการใช้ที่ดิน โดยทั่วไปแล้ว การปลูกพืชตามแนวระดับที่มี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45