Page 41 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        28



                   ประสิทธิภาพดีที่สุดนั้น ควรปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทอยู่ในระหว่างร้อยละ 2-7 และระยะของความ
                   ลาดเทไม่ควรเกิน 100 เมตร ประโยชน์ของการปลูกพืชในแนวระดับ ช่วยสงวนดินจากการเซาะกร่อน
                   ประมาณ 0.12–16.72 ตันต่อไร่ต่อปี สงวนน้ าไว้ในดินประมาณ 12.3–482.6 มิลลิเมตรต่อปี ผลผลิต

                   เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10 ป้องกันกล้าพืชและเมล็ดพืชมิให้ถูกน้ าชะพาไป
                                         2.2.2) การปลูกพืชสลับ (Strip Cropping) หมายถึง การปลูกพืชที่ให้การคุ้มกัน
                   ดินสลับกับพืชที่ไม่ให้การคุ้มกันดิน หลักการปลูกพืชเป็นแถบสลับ คือ เมื่อฝนตกลงมาบนพื้นที่ที่มีความ
                   ลาดเทก็จะเกิดน้ าไหลบ่าบนผิวดินที่ไม่ได้คุ้มกันดิน อัตราการไหลของน้ าที่ไหลบ่าจะเป็นไปตามธรรมชาติ

                   แต่เมื่อน้ าที่ไหลบ่ามาถึงแถบที่ปลูกพืชคุ้มกันดินจะท าให้อัตราการไหลของน้ าที่ผิวดินลดลง การปลูกพืช
                   สลับเป็นการลดอัตราการเกิด sheet  erosion  และการป้องกันการเกิดการพังทลายที่เป็นร่องน้ าขนาด
                   ใหญ่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับ มีอยู่ 4 ชนิด ดังต่อไปนี้

                                              (1)  Field  Strip  Cropping  ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีความ
                   กว้างของแถบสม่ าเสมอกัน โดยวางให้แถบของพืชขวางกับทิศทางของความลาดเทโดยไม่ค านึงถึงระดับ
                   ของพื้นที่ การปลูกพืชแบบนี้นิยมปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทไม่สม่ าเสมอ ในบางแห่งการปลูกพืชสลับ
                   วิธีนี้ ร่วมกับ wind strip cropping จะให้ผลดีในการควบคุมการพังทลายของดิน
                                                (2)  Contour  Strip  Cropping  ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับไปบน

                   แนวระดับ และวางแถบของพืชตั้งฉากหรือขวางกับทิศทางของความลาดเท โดยปลูกพืชหมุนเวียนประเภท
                   คุ้มกันดิน
                                              (3)  Wind  Strip  Cropping  ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีแถบ

                   สม่ าเสมอกันและขวางทิศทางลม เหมาะที่จะปลูกในที่ราบหรือเกือบราบและมีปัญหาการพังทลายของดิน
                   โดยลม
                                                (4)  Buffer  Strip  Cropping  ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีความ
                   กว้างของแถบสลับ ไม่สม่ าเสมอกัน มักปลูกหญ้าสลับพืชตระกูลถั่ว การปลูกพืชแบบนี้ป้องกันการพังทลาย

                   ของดินมากกว่าจุดประสงค์อื่น ๆ
                                        2.2.3)  การปลูกพืชเป็นแนวป้องกันลม (Windbreak) เป็นการปลูกพืชที่มีกิ่งใบ
                   แน่น เป็นการปลูกพืชขวางทิศทางลม เพื่อลดความเร็วและการสูญเสียที่เกิดขึ้นกับดิน ไม่โค่นล้มง่าย
                   ขวางทางลมไว้เพื่อลดความแรงของลม และลดการระเหยของน้ าที่ผิวหน้าดิน  ส าหรับชนิดของพืช

                   ขนาด ความสูง และจ านวนที่ปลูก ขึ้นอยู่กับความเร็วของลม และลักษณะการเคลื่อนที่ของลม การปลูก
                   พืชก าบังลมสามารถท าได้หลายแนวและหลายทิศทาง ควรระมัดระวังเกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดกับ
                   พืชหลัก
                                        2.2.4) การปลูกพืชคลุมดิน (Cover Crop) เป็นการปลูกพืชที่มีรากมาก รากลึก

                   ใบแผ่แน่นและโตเร็ว เช่น หญ้าแฝก ยึดหน้าดินไว้เพื่อป้องกันการชะล้างและช่วยรักษาความชื้น
                   นอกจากนี้ ซากพืชยังท าให้ดินร่วนซุยและอุ้มน้ าได้ดีขึ้นอีกด้วย
                                        2.2.5)  การใช้วัสดุคลุมดิน (Mulching)  หมายถึง การคลุมดินด้วยวัตถุต่าง ๆ

                   เช่น พลาสติก กระดาษ เศษเหลือของพืช เป็นต้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์ดินและน้ า การคลุมดินส่วนใหญ่
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46