Page 44 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        31



                          ภรภัทร และคณะ (2559) ได้ทดลองเชิงสาธิตและการยอมรับการใช้หญ้าแฝกและพืชอนุรักษ์
                   ร่วมกับข้าวโพดแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ ากึ้น
                   ต าบลบ่อแก้ว อ าเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน พบว่า วิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับแถบหญ้าแฝก และ

                   วิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับแถบหญ้าแฝกร่วมกับปลูกถั่วพุ่มด าเหลื่อมฤดู ท าให้ความหนาแน่น
                   รวมของดินลดลงจาก 1.30 เป็น 1.22 และจาก 1.35 เป็น 1.20 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ส่วนวิธีที่ไม่มี
                   ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าท าให้ความหนาแน่นรวมของดินเพิ่มขึ้น นอกจากนี้วิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขา
                   ร่วมกับแถบหญ้าแฝกยังสามารถป้องกันการสูญเสียดินได้เป็นอย่างดี โดยเฉลี่ย 3  ปีวิธีการดังกล่าวมี

                   ปริมาณการสูญเสียดินต่ าสุด 456.02 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่วิธีที่ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ าปริมาณการ
                   สูญเสียดินสูงสุด 680.11  กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้เกษตรกรยอมรับวิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับ
                   แถบหญ้าแฝกร่วมกับปลูกถั่วพุ่มด าเหลื่อมฤดูในแปลงข้าวโพดทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตข้าวโพดมีแนวโน้ม

                   สูงขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายถั่วพุ่มด า
                            กมลทิพย์ และคณะ (2559) ได้ศึกษาระบบการปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมใน
                   ชุดดินปราณบุรีเพื่อการผลิตสับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า การปลูกหญ้าแฝกสายพันธุ์สงขลา
                   3  จ านวน 3  แถบ แถบละ 2  เมตร เว้นระยะห่างระหว่างแถบ 1  เมตร มีปริมาณการสูญเสียดินต่ าสุด
                   490.64  กิโลกรัมต่อไร่  ส่วนวิธีเกษตรกร (ไถพรวนตามความลาดเท) มีปริมาณการสูญเสียดินสูงสุด

                   766.80  กิโลกรัมต่อไร่ และพบว่า สับปะรดที่ปลูกร่วมกับแถบหญ้าแฝกให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 13,197
                   กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนวิธีการปลูกถั่วมะแฮะแถบกว้าง 60 เซนติเมตร ให้ผลผลิตต่ าสุดเท่ากับ 8,863 กิโลกรัม
                   ต่อไร่


                   2.9 การปรับปรุงบ ารุงดิน
                            การขุดถมดินในการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าโดยมาตรวิธีกลท าให้หน้าดินที่ใช้เพาะปลูก
                   ถูกเคลื่อนย้าย ท าให้โครงสร้างดินถูกท าลาย ดินจึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูกพืช ดังนั้นก่อนเพาะปลูก

                   จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดิน เช่นเดียวกับการปลูกพืชซ้ าในดินเดิมอย่างต่อเนื่อง โดยไม่มี
                   การปรับปรุงบ ารุงดิน จะท าให้ดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ไปอย่างรวดเร็ว ดินจะแข็ง ไม่ร่วนซุย ดูดซับ
                   น้ าและธาตุอาหารได้น้อยลง และที่ส าคัญคือจะท าให้การใช้ปุ๋ยเคมีไม่ได้รับผลดีเท่าที่ควร การใช้ปุ๋ยเคมีที่
                   ได้ผลจะต้องใช้ควบคู่ไปกับการปรับปรุงบ ารุงดิน หากใช้ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีการปรับปรุง

                   บ ารุงดินติดต่อกันเป็นเวลานาน จะท าให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ท าให้ผลผลิตลดลง ต้องใช้ปุ๋ยเคมีมาก
                   ขึ้น เป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิตให้สูงขึ้น การปรับปรุงบ ารุงดินท าได้โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน
                   ซึ่งจะท าให้ได้รับประโยชน์ ดังนี้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)
                            1) ประโยชน์ของการปรับปรุงบ ารุงดิน

                                    (1) ท าให้ดินจับตัวกันเป็นก้อนเล็ก ๆ ร่วนซุยไถพรวนง่าย ระบายน้ าและอากาศได้ดี
                   รากพืชก็จะเจริญเติบโตได้ดี
                                    (2) ท าให้ดินทนทานต่อการชะล้างดีขึ้น

                                    (3) ท าให้ดินอุ้มน้ าได้มากขึ้นและลดการระเหยน้ าออกจากดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49