Page 41 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                             น้่าหมักชีวภาพได้จากการหมักชิ้นส่วนของพืชและสัตว์กับกากน้่าตาลและน้่า วัสดุเหล่านี้จะ
                       ถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ซึ่งเกือบทั้งหมดเป็นจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ (มากกว่าร้อยละ 90 ของ
                       จุลินทรีย์ทั้งหมด)  น้่าหมักชีวภาพจะปลดปล่อยธาตุอาหารพืชออกมามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณ
                       ธาตุอาหารพืชที่มีอยู่ในวัสดุที่น่ามาใช้หมัก การผลิตน้่าหมักชีวภาพใช้วัสดุที่เป็นของแข็งปริมาณน้อย

                       ประกอบกับธาตุอาหารพืชที่มีอยู่ในวัสดุเหล่านั้นมักมีปริมาณน้อยอยู่แล้ว ธาตุอาหารพืชที่ถูก
                       ปลดปล่อยผ่านกระบวนการย่อยสลายจึงมีปริมาณน้อยมาก ทั้งยังถูกท่าให้เจือจาง       (คณะ
                       เทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร, 2552)
                             น้่าหมักชีวภาพ หมายถึง ของเหลวซึ่งได้จากการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้จากพืชหรือสัตว์ที่มี

                       ลักษณะสด อวบน้่า หรือมีความชื้นสูง โดยอาศัยกิจกรรมของจุลินทรีย์ทั้งในสภาพที่มีอากาศน้อยและ
                       มีอากาศ ประกอบด้วยฮอร์โมนหรือสารเสริมการเจริญเติบโตของพืช เช่น ออกซิน จิบเบอร์เรลลิน
                       และไซโตไคนิน รวมทั้งกรดินทรีย์หลายชนิด เช่น กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดอะมิโน กรดฮิวมิก
                       และธาตุอาหารพืช (กองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, ม.ป.ป.)

                             ระยะเวลาการหมักวัสดุเหลือใช้ลักษณะสดในสภาพที่เป็นของเหลวนั้นจะขึ้นอยู่กับปัจจัยของ
                       สภาพแวดล้อมและปัจจัยของวัสดุลักษณะสดที่ใช้ในการหมักด้วย ดังนั้นปัจจัยบางประการจะบ่งบอก
                       ถึงประสิทธิภาพอัตราการย่อยสลายวัสดุหมักลักษณะสด คือ ชนิดและองค์ประกอบของวัสดุหมัก

                       ความอวบน้่าของวัสดุหมัก แหล่งอาหารคาร์บอนของจุลินทรีย์ การระบายอากาศ ค่าความเป็นกรด
                       เป็นด่าง ค่า pH  อุณหภูมิ ความชื้น เนื่องจากน้่าหมักชีวภาพมีความเข้มข้นของสารอินทรีย์สูง ซึ่ง
                       ประกอบด้วย ฮอร์โมนหรือสารเสริมการเจริญเติบโต และกรดอินทรีย์หลายชนิด สารอินทรีย์ดังกล่าว
                       มีความส่าคัญต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และจุลินทรีย์ในดิน แต่มีความต้องการในระดับ
                       ความเข้มข้นหรือปริมาณที่ต่่ามาก ดังนั้นจึงจ่าเป็นต้องมีการเจือจางน้่าหมักชีวภาพทุกครั้งก่อนที่จะ

                       น่าไปใช้ หากไม่มีการเจือจางจะมีผลกระทบท่าให้เกิดการชะงักการเจริญเติบโตของพืช โดยเซลล์พืช
                       จะแตกและพืชจะเหี่ยวแห้งตายไป นอกจากจะมีความเข้มข้นของอินทรีย์สารสูงแล้วยังมีค่าการน่า
                       ไฟฟ้าของสารละลายสูงด้วยการเจือจางน้่าหมักชีวภาพจะลดค่าการน่าไฟฟ้าของสารละลายท่าให้ไม่มี

                       ผลกระทบต่อพืช (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
                             ปุ๋ยพืชสด  คือ ปุ๋ยที่ได้จากการไถกลบเศษหรือต้นพืชขณะที่ยังสดลงไปในดิน  ปล่อยให้ย่อย
                       สลายระยะหนึ่ง แล้วจึงปลูกพืชหลักตาม ปกตินิยมใช้พืชตระกูลถั่วเป็นพืชปุ๋ยสด เช่น ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า
                       ปอเทือง ถั่วมะแฮะ โสนต่างๆ ฯลฯ เนื่องจากปลูกง่าย เป็นพืชที่สามารถตรึงธาตุอาหารไนโตรเจนจาก

                       อากาศได้ดี ไม่ระบาดเป็นวัชพืชในภายหลัง  โดยตัดสับหรือไถกลบในช่วงที่พืชก่าลังออกดอกประมาณ
                       50 เปอร์เซนต์ เพราะจะได้ปุ๋ยพืชสดคุณภาพดี น้่าหนักสดต่อไร่สูงและย่อยสลายง่ายจึงปลูกพืชหลัก
                       ตามได้ไวขึ้น สามารถด่าเนินการได้อย่างกว้างขวางในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น แปลงพืชไร่ นาข้าว และ
                       พื้นที่ดินเสื่อมโทรม (พนม และคณะ, ม.ป.ป.)

                             พืชตระกูลถั่วที่แนะน่าให้ปลูกท่าปุ๋ยพืชสด ได้แก่ ถั่วพุ่ม นิยมปลูกทั้งในแปลงพืชไร่ นาข้าว (ที่
                       น้่าไม่แฉะ) หรือในแปลงไม้ผลยืนต้น ใช้เมล็ดหว่านอัตรา 7-8  กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 45-60
                       วัน ได้ปุ๋ยสด 2-3  ตันต่อไร่ ซึ่งจะให้ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ประมาณ 2.9 0.6 และ
                       3.5 เปอร์เซ็นต์ ของน้่าหนักแห้ง ถั่วพร้า นิยมปลูกในแปลงพืชไร่,นาข้าว ทนแล้งได้ดี โดยใช้เมล็ดพันธุ์
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46