Page 40 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26







                       เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ชนิดต่างๆ ได้แก่ มูลสุกร มูลไก่เนื้อ มูลไก่ไข่ มูลวัวและมูลควาย โดย
                       น่ามาใส่ในแปลงพืชผักและไม้ผลโดยตรง ไม่ได้ผ่านขบวนการหมักและย่อยสลายก่อน ซึ่งจะพบปัญหา
                       ในเรื่องของเมล็ดวัชพืชที่ติดมา รวมถึงจุลินทรีย์ที่ท่าให้เกิดโรคและไข่ของแมลงที่เป็นศัตรูพืช รวมทั้ง
                       การใส่ปุ๋ยคอกสดลงในดินจะเกิดขบวนการย่อยสลายปุ๋ยคอกสดท่าให้เกิดความร้อน และมีการดึง

                       ไนโตรเจนจากดินไปใช้ ท่าให้ดินบริเวณนี้ขาดไนโตรเจน มีผลกระทบต่อพืช ท่าให้พืชชะงักการ
                       เจริญเติบโตและแสดงอาการใบเหลือง ดังนั้นในการเอาปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยมูลสัตว์ไปใส่เพื่อให้เกิด
                       ประโยชน์กับต้นพืช จึงควรท่าการหมักก่อน ในขณะที่หมักกองปุ๋ยหมักจะเกิดความร้อน เนื่องจาก
                       ขบวนการย่อยสลาย จุลินทรีย์ ความร้อนในกองปุ๋ยหมักจะช่วยท่าลายความงอกของเมล็ดวัชพืช

                       จุลินทรีย์ที่ท่าให้เกิดโรคและไข่ของแมลงที่เป็นศัตรูพืช เป็นการตัดวงจรของวัชพืช โรคแมลงศัตรูพืช
                       ช่วยประหยัดเวลาและแรงงานในการป้องกันก่าจัดโรคแมลงศัตรูพืชและวัชพืช รวมทั้งเป็นการช่วยลด
                       ความสูญเสียของผลผลิตที่จะเกิดขึ้นจากการเข้าท่าลายของโรคศัตรูพืช
                             ประโยชน์ของปุ๋ยหมัก คือ ช่วยท่าให้ดินร่วนซุย ไม่แน่นทึบ ช่วยเชื่อมอนุภาคของดินให้เกาะ

                       กันเป็นก้อนเล็ก ท่าให้ดินมีช่องว่างเพิ่มมากขึ้น มีการถ่ายเทอากาศและระบายน้่าในดินได้ดีขึ้น  ช่วย
                       เพิ่มความสามารถในการอุ้มน้่าของดิน ลดการไหลบ่าของน้่าที่ผิวหน้าดิน และน้่าที่ไหลเกินระดับความ
                       ลึกของรากพืช ช่วยเพิ่มธาตุอาหารของพืช ที่สลายตัวมาจากวัสดุที่น่ามาท่าปุ๋ยหมัก ช่วยต้านทานการ

                       เปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาของดินอย่างรวดเร็ว ท่าให้ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเปลี่ยนแปลงช้า ช่วยท่า
                       ให้ดินสามารถดูดซับธาตุอาหารพืชไว้ได้มาก ดังนั้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูงจึงสามารถใส่ปุ๋ยได้มาก
                       ในขณะที่ดินทรายหรือดินเนื้อหยาบที่มีอินทรียวัตถุน้อยจะต้องใส่ทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง  และเป็น
                       อาหารของจุลินทรีย์ในดิน ธาตุอาหารในดินส่วนใหญ่ต้องมีการเปลี่ยนรูปเพื่อให้อยู่ในรูปที่เป็น
                       ประโยชน์ต่อพืช โดยผ่านกิจกรรมของจุลินทรีย์ในดิน ซึ่งจุลินทรีย์ในดินต้องใช้คาร์บอนเป็นแหล่ง

                       พลังงานจากอินทรียวัตถุที่เป็นองค์ประกอบในปุ๋ยหมัก นอกจากนี้ปุ๋ยหมักยังเป็นอาหารที่ส่าคัญให้กับ
                       จุลินทรีย์บางชนิดที่สามารถสร้างอาหารของพืชให้กับดินได้ เช่น อะโซโตแบคเตอร์
                             น้่าหมักชีวภาพหรือน้่าสกัดชีวภาพ (Bioextract  :  BE) เป็นวิธีการสกัดน้่าเลี้ยงจากเซลล์พืช

                       และเซลล์สัตว์ซึ่งประกอบด้วยสารประกอบอินทรีย์ โดยใช้น้่าตาลหรือกากน้่าตาล (molasses) ใส่ลง
                       ไปจะได้น้่าเลี้ยงที่สกัดออกมาเป็นสีน้่าตาล โดยขบวนการ พลาสโมไลซีส (plasmolysis) และน้่าเลี้ยง
                       ที่ได้จะถูกจุลินทรีย์ในธรรมชาติและที่ติดมากับวัสดุที่น่ามาหมัก ด่าเนินกระบวนการหมักต่อไปโดยใช้
                       กากน้่าตาลและสารประกอบอินทรีย์จากวัสดุเหล่านั้นเป็นแหล่งอาหารและพลังงาน โดยจุลินทรีย์แต่

                       ละชนิดจะท่าการย่อยสลายวัสดุอินทรีย์ให้มีโมเลกุลเล็กลงตามล่าดับ ของเหลวหรือน้่าหมักที่ได้นี้จะมี
                       ทั้งจุลินทรีย์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นหลากหลายชนิด รวมทั้งมีสารประกอบที่สกัดได้จากเซลล์พืชและเซลล์
                       สัตว์ชนิดต่างๆ ได้แก่ สารพวกคาร์โบไฮเดรท โปรตีน กรดอะมิโน ฮอร์โมน เอนไซม์ และอื่นๆ น้่าสกัด
                       ชีวภาพจะเกิดขึ้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้่าเลี้ยงในต้นพืช โดยปกติน้่าเลี้ยงในต้นพืชสดจะมีอยู่

                       ประมาณ 90-98 เปอร์เซ็นต์ ถ้าส่วนของพืชมีน้่ามาก น้่าสกัดก็จะเกิดขึ้นมาก ภายในระยะเวลา 2-3
                       วัน แต่เนื่องจากขบวนการท่าในระยะแรกเกี่ยวข้องกับขบวนการสกัดน้่าเลี้ยงจากเซลล์ทางชีวภาพ
                       (bioextract) และในช่วงหลังเกี่ยวข้องกับขบวนการหมัก ดังนั้นนักวิชาการบางกลุ่มจึงเรียกน้่าสกัด
                       ชีวภาพว่า น้่าหมักชีวภาพ (คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร, 2552)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45