Page 46 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       32







                               สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 คือ เชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายวัสดุการเกษตรใน
                       ลักษณะสด อวบน้่าหรือมีความชื้นสูง เพื่อผลิตน้่าหมักชีวภาพ โดยด่าเนินกิจกรรมทั้งในสภาพที่ไม่มี

                       ออกซิเจนและมีออกซิเจน ประกอบด้วยจุลินทรีย์ 5 ชนิด ได้แก่ ยีสต์ผลิตแอลกอฮอล์ และกรด
                       อินทรีย์ Pichia sp. แบคทีเรียผลิตกรดแลคติก Lactobacillus sp. แบคทีเรียย่อยโปรตีน Bacillus

                       megaterium  แบคทีเรียย่อยไขมัน Bacillus  subtilis และแบคทีเรียสลายสารประกอบฟอสเฟส
                       Burkhoderia sp. มีจุดเด่นคือ เป็นจุลินทรีย์เจริญได้ในสภาพความเป็นกรด จุลินทรีย์ส่วนใหญ่สร้าง

                       สปอร์ ท่าให้ทนต่อสภาพแวดล้อมและเก็บรักษาได้นาน สามารถผลิตน้่าหมักชีวภาพในเวลาสั้นและได้

                       คุณภาพจากวัตถุดิบหลายชนิด เช่น ผัก ผลไม้ ปลา หอยเชอรี่ เปลือกไข่ เศษก้างและกระดูกสัตว์ เพิ่ม
                       ประสิทธิภาพการสะลายธาตุอาหารในการหมักวัตถุดิบจาก เปลือกไข่ ก้างและกระดูกสัตว์  ท่าให้พืช

                       แข็งแรงต้านทานต่อการเข้าท่าลายของโรคและแมลง

                              ส่วนผสมส่าหรับผลิตน้่าหมักชีวภาพจากผักหรือผลไม้ จ่านวน 50 ลิตร ประกอบด้วย ผักหรือ
                       ผลไม้ 40 กิโลกรัม กากน้่าตาล 10  กิโลกรัม น้่า 10 ลิตร และสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ่านวน 1 ซอง ใช้

                       เวลาหมัก 7 วัน ส่วนน้่าหมักชีวภาพจากปลาหรือหอยเชอรี่ จ่านวน 50 ลิตร ประกอบด้วย ปลาหรือ
                       หอยเชอรี่ 30 กิโลกรัม ผลไม้ 10 กิโลกรัม กากน้่าตาล 10 กิโลกรัม น้่า 10  ลิตร  และสารเร่งซุปเปอร์

                       พด.2 จ่านวน 1 ซอง ใช้เวลาหมัก 15-20 วัน
                              วิธีการผลิตน้่าหมักชีวภาพ หั่นหรือสับวัสดุพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ ผสมกับกากน้่าตาลใน

                       ถังหมักขนาด 50 ลิตร น่าสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ่านวน 1 ซอง ผสมในน้่า 10 ลิตร คนให้เข้ากันนาน

                       5 นาที จากนั้นผสมสารละลายสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ลงในถังหมักและคนส่วนผสมให้เข้ากัน ปิดฝาไม่
                       ต้องสนิทและตั้งไว้ในที่ร่ม   ในระหว่างการหมักคนหรือกวน 1-2 ครั้งต่อวัน เพื่อละลายก๊าซ

                       คาร์บอนไดออกไซด์  วิธีการผลิตน้่าหมักชีวภาพโดยการต่อเชื้อคือ น่าน้่าหมักชีวภาพที่หมักเป็นเวลา

                       5-7 วัน ซึ่งจะสังเกตเห็นฝ้าสีขาวที่ผิวหน้าวัสดุหมัก จ่านวน 2 ลิตร แทนการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2
                       จ่านวน 1 ซอง ในการผลิตน้่าหมักชีวภาพ 50 ลิตร และใช้วัสดุหมัก 30-40 กิโลกรัม  การพิจารณา

                       น้่าหมักชีวภาพที่สมบูรณ์แล้ว  โดยการสังเกตการเจริญของจุลินทรีย์น้อยลง โดยคราบเชื้อที่พบใน
                       ช่วงแรกจะลดลง ไม่พบฟองก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลิ่นแอลกอฮอล์ลดลง และมีความเป็นกรดเป็น

                       ด่างอยู่ระหว่าง 3-4
                              การใช้ประโยชน์ของน้่าหมักชีวภาพทางการเกษตร องค์ประกอบที่ส่าคัญคือ สารเสริมการ

                       เจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมน โดยเป็นสารที่พืชสามารถสร้างเองตามธรรมชาติ และมีจุลินทรีย์บาง

                       ชนิดสังเคราะห์ฮอร์โมนได้ ฮอร์โมนที่พบโดยทั่วไปในน้่าหมักชีวภาพ และมีบทบาทส่าคัญต่อพืช ดังนี้
                       ออกซินท่าให้เซลล์พืชขยายตัวมากขึ้น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ มีการเกิดรากฝอยและรากแขนงเพิ่มมาก

                       ขึ้น เร่งการเจริญเติบโตของล่าต้น ควบคุมการเจริญของใบ ส่งเสริมการออกดอก กระตุ้นการสุกของ

                       ผล จิบเบอเรลลินกระตุ้นการแบ่งเซลล์ การยืดตัวของล่าต้น กระตุ้นการงอกของเมล็ดและตา ท่าลาย
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51