Page 21 - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document)
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       2-7





                              ครั้งเมื่อมีการน าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการจัดเก็บข้อมูล จึงช่วยลดการใช้เอกสาร
                  เอกสารต่างๆ เริ่มลดลงจากการน าข้อมูลมาบันทึกลงในสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลได้
                  ในปริมาณมหาศาลอย่างไม่น่าเชื่อ เปรียบเทียบได้จากเอกสารกองโตและแฟ้มเอกสารต่างๆ ภายในตู้เก็บเอกสารที่

                  มีอยู่เต็มห้อง สามารถจัดเก็บลงในฮาร์ดดิสก์หรือในแผ่นซีดี/ดีวีดีเพียงไม่กี่แผ่น และด้วยข้อมูลที่จัดเก็บเป็น
                  รูปแบบดิจิตอล จึงท าให้การค้นหาข้อมูลเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ที่ส าคัญข้อมูลที่จัดเก็บยังไม่ถูก
                  ลบเลือนไปตามกาลเวลา ซึ่งต่างจากข้อมูลบนเอกสารที่จะเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา
                                จากแนวคิดการจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบแฟ้มข้อมูล ก็เข้าสู่ยุคฐานข้อมูลที่เป็นแหล่งรวมของ
                  แฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน จนกระทั่งเข้าสู่ยุคฐานข้อมูลขนาดใหญ่อย่างคลังข้อมูล ที่เต็มไปด้วย

                  ข้อมูลจ านวนมหาศาล แล้วภายใต้ข้อมูลจ านวนมากเหล่านี้ ย่อมมีข้อมูลทางคุณค่าที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในเปรียบ
                  ราวกับการขุดเหมืองแร่ขนาดใหญ่ เพียงเพื่อต้องการสกัดคงไว้เหลือแต่แร่ที่มีคุณค่าเท่านั้น  (โอภาส เอี่ยมสิริ
                  วงศ์, 2557)

                                1)  โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Structure)
                                    ADSMAX (2557ก) ได้อธิบายเกี่ยวกับ  โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File  Structure)  ใน
                  เว็บไซต์ http://easy-basic-database-system.blogspot.com ว่า โครงสร้างแฟ้มข้อมูลประกอบด้วย
                  โครงสร้างพื้นฐานที่ล าดับจากหน่วยที่เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามล าดับต่อไปนี้ คือ บิต (Bit) ไบต์ (Byte)

                  ฟิวด์ (Field) เรคอร์ด (Record) และ ไฟล์ (File)
                                    1.1) บิต (Bit) ประกอบด้วยเลขฐานข้อมูล (Binary  Digit)  ถือเป็นหน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล
                  ในคอมพิวเตอร์ โดยบิต จะมีเพียงหนึ่งในสอง สถานะเท่านั้นคือ 0 หรือ 1 เพื่อแทนสัญญาไฟฟ้า off  หรือ on
                  ดังนั้นบิต จึงไม่สามารถแทนค่าข้อมูลในปริมาณมากๆ ได้

                                    1.2) ไบต์ (Byte)  เมื่อบิตไม่สามารถใช้แทนค่าข้อมูลในปริมาณมากๆ ได้ เนื่องจากมี
                  เพียง 2 สถานะเท่านั้น จึงได้มีการน าจ านวนบิตหลาย ๆ บิตมารวมกันเป็นไบต์ ซึ่งโดยปกติแล้ว 1 ไบต์จะประกอบ
                  ด้วย 8 บิต ดังนั้นจึงท าให้หนึ่งไบต์ สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลขึ้นมาใช้แทนตัวอักขระให้แตกต่างกันได้ถึง
                  2 ยกก าลัง 8 หรือ 256 อักขระด้วยกัน นั่นเอง

                                    1.3) ฟิลด์ (Field) ฟิลด์ คือ การน าอักขระหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ไบต์ขึ้นไปมารวมกันเพื่อให้
                  เกิดความหมายขึ้นมา เช่น ฟิลด์ Name  เป็นฟิลด์ที่ใช้แทนชื่อของพนักงาน หรือฟิลด์ Address  ที่ใช้เก็บที่อยู่
                  ของพนักงาน เป็นต้น

                                    1.4) เรคอร์ด (Record)  เรคอร์ด คือ กลุ่มของฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ใน 1
                  เรคอร์ดจะประกอบฟิลด์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคอร์ด ตัวอย่างเช่น เรคอร์ดพนักงาน ประกอบด้วยฟิลด์
                  รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ต าแหน่ง เพศ วันเกิด และ เงินเดือน เป็นต้น ดังนั้น ภายใน
                  1 เรคอร์ดจึงจ าเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 ฟิลด์เพื่อใช้ส าหรับอ้างอิงข้อมูลในเรคอร์ดนั้น ๆ
                                    1.5) ไฟล์ (File)  คือ กลุ่มของเรคอร์ดที่สัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ในแฟ้มพนักงานจะ

                  ประกอบไปด้วยเรคอร์ดต่าง ๆ ของพนักงานทั้งหมดที่อยู่ในบริษัท ดังนั้น ไฟล์ 1 จึงจ าเป็นต้องมีอย่างน้อย 1
                  เรคอร์ด เพื่อใช้ส าหรับอ่านข้อมูลขึ้นมาใช้งาน
                                2)  ชนิดของแฟ้มข้อมูล (Types of Conventional Files)

                                  ADSMAX  (2557ข)  ได้อธิบายเกี่ยวกับชนิดของแฟ้มข้อมูล  (Types  of  Conventional
                  Files)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26