Page 18 - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document)
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       2-4





                                4) มีความยืดหยุ่น (Flexible) จะต้องสามารถน าสารสนเทศไปใช้ได้กับบุคคลหลายกลุ่ม เช่น
                  รายงานยอดคงเหลือของวัตถุดิบที่มีอยู่จริง สามารถน าไปใช้ในการตัดสินใจเพื่อสั่งซื้อวัตถุดิบได้โดยฝ่ายจัดซื้อ
                  สามารถน าไปใช้ในการค านวณยอดขายได้ เป็นต้น

                                5)  มีความเชื่อถือได้  (Reliable)  ความน่าเชื่อถือของสารสนเทศนั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรวบรวม
                  ข้อมูลจากแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้
                                6)  ตรงประเด็น  (Relevant)  สารสนเทศที่ดีต้องมีความสัมพันธ์กับงานที่ต้องการวิเคราะห์
                  หากเป็นสารสนเทศที่ไม่ตรงประเด็นจะท าให้เสียเวลาในการท างาน
                                7) มีความง่าย (Simple) สารสนเทศที่ดีต้องไม่ซับซ้อน กล่าวคือ ง่ายต่อการท าความเข้าใจ

                  เพราะความซับซ้อนคือการมีรายละเอียดปลีกย่อยมากเกินไป จนท าให้ไม่ทราบความส าคัญที่แท้จริงของ
                  สารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจนั้น
                                8) มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน (Timely) ต้องเป็นสารสนเทศที่มีความทันสมัยอยู่

                  เสมอ  เมื่อต้องการใช้เพื่อการตัดสินใจจะท าให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น  เช่น  ยอดจ าหน่ายเสื้อกันหนาวใน
                  ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ไม่อาจน ามาประมาณการยอดจ าหน่ายของเสื้อชนิดเดียวกันในช่วง
                  เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคมได้
                                9) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) สารสนเทศที่ดีต้องสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้

                  โดยอาจตรวจสอบจากแหล่งที่มา เป็นต้น

                  2.3 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
                         2.3.1 ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS)

                             ในเรื่องที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ได้มีนักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมาย
                  และค านิยามไว้ ดังนี้
                                ณาตยา ฉาบนาค (2548: 26) ได้ให้ความหมายว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นระบบที่
                  มีการรวบรวมข้อมูลที่เก็บไว้ในแหล่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้องค์กร ได้น าเอามา

                  ใช้ในการด าเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นในด้านการประมวลผลข้อมูล และมีการจัดรูปแบบเพื่อให้ได้สารสนเทศ ที่น า
                  มาช่วยสนับสนุนการท างาน และช่วยในการตัดสินใจด้านต่างๆ ของผู้บริหาร รวมทั้งยังช่วยในการประสานงาน
                  กับฝ่ายต่างๆ อีกด้วย

                                ศรีสมรัก อินทุจันทร์ยง (2549: 21) ได้ให้ความหมายว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
                  เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อจัดท ารายงานส าหรับผู้บริหาร โดยรับข้อมูลเข้ามาจากระบบประมวลผล รายการ
                  เปลี่ยนแปลง เพื่อจัดท ารายงานส าหรับการควบคุมการบริหารจัดการให้กับผู้บริหาร ส่วนใหญ่แล้วระบบ
                  สารสนเทศเพื่อการบริหาร ได้รับการพัฒนาการผลิตรายงานตามหน้าที่งานต่างๆ
                                ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล และ เจษฎาพร ยุทธนวิบูลย์ชัย (2549) ได้ให้ความหมายว่า ระบบ

                  สารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information  System :  MIS)  เป็นระบบที่ให้ข้อมูลหรือสารสนเทศ
                  ที่สัมพันธ์กับการด าเนินงานขององค์การ เช่น การใช้ MIS เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมของลูกจ้าง เจ้าของกิจการ
                  ลูกค้า และบุคคลอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์การ การประมวลผลของข้อมูลจะช่วยแบ่งภาระการท างานและยัง

                  สามารถน าสารสนเทศมาช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร หรือ MIS  เป็นระบบซึ่งรวมความสามารถของผู้ใช้
                  งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการด าเนินงานการจัดการและ
                  การตัดสินใจในองค์การ หรือ MIS หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลและการสร้างสารสนเทศ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23