Page 30 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          19




                  ที่ระยะเวลา 60 วัน ซึ่งเป็นอุณหภูมิตามสภาพอากาศ จากการรายงาน พบว่า อุณหภูมิที่เหมาะสมใน
                  การเจริญเติบโตของเชื้อราไตรโคเดอร์มาอยู่ในช่วงระหว่าง 30-38 องศาเซลเซียส ความชื้นในดินที่เหมาะสมอยู่
                  ในช่วง 50-60 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ในช่วง 5.5-6.5 ซึ่งถ้าอยู่ในสภาพที่เหมาะสมจะ

                  ท าให้เชื้อราไตรโคเดอร์มาเพิ่มจ านวนได้สูงขึ้นภายในระยะเวลา 5–10 วัน (ฉวีวรรณ, 2546)

                  ตารางที่ 3 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลาต่างๆกัน (องศาเซลเซียส)


                                                                                            วัน
                                      ต ารับการทดลอง
                                                                          เริ่มต้น   15 วัน  30 วัน  45 วัน  60 วัน
                   1. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน                               31.89    43.22  36.11  35.11    32.89
                   2. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา              30.11    39.22  35.44  33.22    31.89
                   3. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์  37.00    38.11  36.11  33.22    30.45
                     2 เปอร์เซ็นต์
                   4. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์  35.00    37.57  37.33  33.33    32.56
                     2 เปอร์เซ็นต์+เชื้อราไตรโคเดอร์มา

                                          ค่าเฉลี่ย                       35.50    39.53  36.25  33.72    31.95

                                           F-test                           ns      ns      ns      ns      ns
                                          C.V. (%)                        12.50    8.24    5.01    3.09    5.48
                  หมายเหตุ : ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ


                  3. สมบัติทางเคมีของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
                         จากการเก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนทั้ง 4 ต ารับที่ระยะเวลา 30 และ 60 วัน วิเคราะห์หา
                  สมบัติทางเคมีของปุ๋ยหมัก ผลวิเคราะห์มีดังนี้

                         3.1 ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของปุ๋ยหมัก
                             ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 30 วัน พบว่า ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยหมักแตกต่าง
                  กันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ โดยต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนใส่เชื้อราไฟทอฟธอราร่วมกับ
                  ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ และเชื้อราไตรโคเดอร์มา มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยหมักสูงที่สุด 8.2
                  รองลงมาได้แก่ ต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนใส่เชื้อราไฟทอฟธอราร่วมกับปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์

                  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยหมัก เท่ากับ 7.90 ส าหรับต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนผสมกับเชื้อรา
                  ไฟทอฟธอรา และต ารับที่ใช้ปุ๋ยหมักจากเปลือกทุเรียนอย่างเดียวมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยหมัก เท่ากับ
                  7.50 และ 7.00 ตามล าดับ (ตารางที่ 4)

                             ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 60 วัน พบว่า ทุกต ารับมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยหมัก
                  ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยต ารับที่ใช้ปุ๋ยหมักจากเปลือกทุเรียนอย่างเดียว ต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมัก
                  เปลือกทุเรียนผสมกับเชื้อราไฟทอฟธอรา ต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนใส่เชื้อราไฟทอฟธอรา ร่วมกับ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35