Page 27 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          16




                  ที่รายงานว่าเชื้อราไตรโคเดอร์มามีผลในการท าลายการงอกของสปอร์ และยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา
                  ไฟทอฟธอรา การศึกษาของ Kelley  (1997) พบว่าการเพิ่มขึ้นของเชื้อปริมาณเชื้อราไตรโคเดอร์ช่วยยับยั้ง
                  การเจริญเติบโตของเชื้อราไฟทอฟธอรา และที่ช่วงเวลา 21 วันหลังการใส่เชื้อราไตรโคเดอร์มามีผลท าให้เชื้อรา

                  ไฟทอฟธอรามีปริมาณลดลงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ นอกจากนั้น Messenegr et  al. (1997) รายงานว่า
                  การใส่ปูนโดโลไมท์ที่มีปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เป็นองค์ประกอบร่วมกับการใส่เชื้อราไตรโคเดอร์มา
                  ช่วยลดปริมาณและก าจัดเชื้อราไฟทอฟธอราให้ลดลงได้ แต่อย่างไรก็ตาม การท างานของเชื้อราไตรโคเดอร์มา
                  ในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชจะต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปริมาณอาหาร
                  สภาพแวดล้อมของพื้นที่ ซึ่งจากการศึกษาที่ผ่านมามีการแนะน าให้ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในปริมาณ 6.28
                                           6
                  log  no.ต่อกรัมวัสดุ (1.9x10   โคโลนีต่อกรัมวัสดุ) ในการยับยั้งและปูองกันเชื้อสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า
                  (โครงการพัฒนาวิชาการการควบคุมโรคพืชโดยชีวภาพ, 2559) ที่ระยะเวลา 30 และ 60 วัน พบว่าต ารับ
                  ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนอย่างเดียวมีการลดลงของเชื้อราไฟทอฟธอราช้ากว่าต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน

                  ใส่เชื้อราไฟทอฟธอราร่วมกับปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ และต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนใส่เชื้อรา
                  ไฟทอฟธอราร่วมกับปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ และเชื้อราไตรโคเดอร์มา แสดงให้เห็นว่าการใส่ปูนโดโลไมท์
                  และเชื้อราไตรโคเดอร์มา มีผลยับยั้งท าให้เชื้อราไฟทอฟธอราลดลง โดยต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนใส่
                  เชื้อราไฟทอฟธอราร่วมกับปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ และเชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อราไฟทอฟธอราลดลงเร็ว

                  กว่าต ารับการทดลองอื่นๆ

                  ตารางที่ 1 ปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอรา (log no. ต่อกรัมวัสดุ) ของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 30
                            และ 60 วัน


                                                                                           30 วัน       60 วัน
                                              ต ารับการทดลอง
                                                                                          หลังหมัก     หลังหมัก
                   1. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน                                                2.33          2.23
                   2. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา                               6.17          4.80

                   3. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์     3.37          3.03
                   4. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์     0.83          0.33
                     +เชื้อราไตรโคเดอร์มา

                                                  F-test                                    **            **
                                                 LSD                                       1.31          1.51
                                                     0.01
                                                 C.V. (%)                                  15.05        21.24
                  หมายเหตุ ** แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ (หรือแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32