Page 25 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          14




                  ผึ่งให้เย็นที่อุณหภูมิห้อง เมื่อข้าวฟุางในถุงเย็นลง จะท าการถ่ายเชื้อจากใน flask ที่เตรียมต้นตอเชื้อถ่ายลงใน
                  ถุงข้าวฟุาง บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4-5 วัน จากนั้นน าเชื้อที่เพิ่มปริมาณในข้าวฟุาง 2.5 ถุง
                  มาคลุกเคล้าในวัสดุรองรับ โดยใช้ปุ๋ยหมัก 5 กิโลกรัม ผสมกับร าหยาบ 1.25 กิโลกรัม ท าการคลุกเคล้าให้

                  เข้ากัน แล้วน าไปผึ่งให้แห้ง (เสียงแจ๋ว, 2549)
                                4.4 น าหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่  อัตรา 250 กรัม  ผสมกับน้ าเปล่าจ านวน 10 ลิตร  ใส่บัวรดน้ า
                  คนให้ทั่ว น าไปรดให้ทั่วทั้งกองปุ๋ยหมักต ารับที่ 4 ที่ระยะเวลาหมักปุ๋ย 15 วัน คลุกเคล้ากองปุ๋ยหมักทั่วกองให้
                  สม่ าเสมอ (เสียงแจ๋ว, 2549)
                         5. กองปุ๋ยหมักต ารับที่หมักจากเปลือกทุเรียนอย่างเดียวไม่มีการใส่เชื้อราไฟทอฟธอราและเชื้อรา

                  ไตรโคเดอร์มา ให้รดน้ าเปล่าปริมาณ 10 ลิตร เพื่อมีสภาพแวดล้อมทุกต ารับการทดลองให้เหมือนกัน
                         6. กลับกองปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนทุก 15 วัน เพื่อคลุกเคล้าให้ปุ๋ยหมักมีความสม่ าเสมอกัน
                  ถึงระยะเวลา 60 วัน และรักษาความชื้นกองปุ๋ยหมักอยู่ในระดับประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์

                         7. การเก็บและรวบรวมข้อมูล
                                7.1  สมบัติทางกายภาพ ให้วัดอุณหภูมิภายในกองปุ๋ยหมัก โดยวัดที่ระยะเริ่มกองปุ๋ยหมัก
                  และก่อนกลับกองปุ๋ยหมัก หลังหมักปุ๋ยแล้วทุก 15 วัน จ านวน 5 ครั้ง
                                7.2. สมบัติทางชีวภาพ โดยเก็บตัวอย่างกองปุ๋ยหมักเพื่อตรวจนับปริมาณเชื้อราไตรโคเดอร์มา

                  และเชื้อราไฟทอฟธอรา ที่ระยะหลังการหมักปุ๋ยแล้ว 30 วัน และ 60 วัน
                                7.3  สมบัติทางเคมี โดยวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของตัวอย่างกองปุ๋ยหมัก ได้แก่ ค่าความเป็น
                  กรดเป็นด่าง (pH) โดยวิธีการ Electrometric method (Peech, 1953) ค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน
                  (C/N  ratio) ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) โดยวิธีการ Titration  method  (Walkley  and  Black, 1934 และ

                  Graham, 1948) ปริมาณไนโตรเจน (N)  โดยวิธีการ Kjeldahl  method (AOAC, 1990) ปริมาณฟอสฟอรัส
                  (P O )  ใช้วิธีการ Colorimetry (Barton, 1948) ปริมาณโพแทสเซียม (K O) ใช้วิธีการ Flame  emission
                    2 5
                                                                                2
                  spectrophotometry (Jackson, 1958) ปริมาณแคลเซียม (Ca)  ปริมาณแมกนีเซียม (Mg)  โดยวิธีการ
                  Atomic Absorption and flame photometry (Isaac and Kerber, 1971) ทั้ง 2 ระยะ

                         8. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ท าการวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูล Analysis  of  Variance
                  (ANOVA)  ตามแผนการทดลองแบบ Completely  randomized  design  (CRD)  และเปรียบเทียบ
                  ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแต่ละกรรมวิธี โดยวิธี Fisher’s  Least  Significant  Difference  (LSD)

                  ด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป STAR version 8.0
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30