Page 17 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            6




                         1.4. การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาทางการเกษตร
                             จากการศึกษาค้นคว้าถึงบทบาทและกลไกการท างานของเชื้อราไตรโคเดอร์มา พบว่า
                  สามารถปูองกันก าจัดโรคพืช และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชได้ ท าให้นักวิจัยท าการศึกษาการน าเชื้อรา

                  ไตรโคเดอร์มามาใช้ในการผลิตปุ๋ยเพื่อยับยั้งการเกิดโรคในพืช และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ดังนี้
                                1.4.1 การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการผลิตปุ๋ยหมัก  การน าเชื้อราไตรโคเดอร์มาใน
                  การผลิตปุ๋ยหมักสิ่งที่ส าคัญ คือ สภาพการหมักวัสดุอินทรีย์ที่น ามาใช้เพื่อเป็นแหล่งอาหารของเชื้อรา
                  ไตรโคเดอร์มา ฉวีวรรณ (2546) รายงานว่า อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของเชื้ออยู่ระหว่าง 30-38
                  องศาเซลเซียส ความชื้นในดินที่เหมาะสม 50-60 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก ความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ถ้าอยู่

                  ในสภาพที่เหมาะสมจะท าให้เชื้อราไตรโคเดอร์มาเพิ่มปริมาณได้สูงขึ้นภายใน 5–10 วัน ในขณะที่  Kubicek
                  (1998) ได้ศึกษาการเจริญเติบโตของ Trichoderma viride ที่ขยายเชื้อในปุ๋ยหมักเมื่อน าไปหว่านลงดินท าให้
                  เพิ่มจ านวนเซลล์ในดินได้มาก และสามารถท าลายเชื้อสาเหตุโรคพืชในดินได้ ปัจจุบันได้น าเอาเชื้อรา

                  ไตรโคเดอร์มามาใช้ร่วมกับการผลิตปุ๋ยไม่ว่าจะเป็นการต่อเชื้อด้วยการน าเอาปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์แล้วมา
                  เป็นอาหารให้เชื้อ กรมพัฒนาที่ดินได้ผลิตสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 เป็นสารเร่งที่มีเชื้อราไตรโคเดอร์มา
                  เป็นจุลินทรีย์ที่ใช้ก าจัดโรคพืช ได้แก่ โรครากเน่าโคนเน่าในดินและพืช ในการท าปุ๋ยหมักเพื่อขยายเชื้อรา
                  ไตรโคเดอร์มานั้น สิ่งส าคัญคือ วัสดุที่น ามาท าปุ๋ยหมักจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและการท างานช่วยขยาย

                  ปริมาณสปอร์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มาด้วย จากการศึกษาของพิกุล (2550) พบว่าวิธีการที่เหมาะสมในการ
                  ขยายเชื้อจุลินทรีย์สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 คือการใช้ปุ๋ยหมัก 100 กิโลกรัมผสมกับมูลไก่ 2 กิโลกรัม และหัวเชื้อ
                  25 กรัม (1 ซอง) มีเชื้อจุลินทรีย์เจริญเติบโตมากที่สุด และเมื่อน าไปขยายเชื้อจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.3
                  ในแปลง เพื่อตรวจสอบปริมาณเชื้อราไตรโคเดอร์มา เปรียบเทียบกับเชื้อที่ขยายด้วยร าละเอียดและมูลค้างคาว

                  พบว่า เชื้อราไตรโคเดอร์มาเจริญได้ดีในมูลไก่ เนื่องจากในมูลไก่มีปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะสม โดยเฉพาะ
                  โพแทสเซียมที่มีผลต่อการสร้างเอนไซม์ที่ช่วยให้เชื้อสามารถเจริญเติบโตได้ดี นอกจากนั้นยังมีการน าเชื้อรา
                  ไตรโคเดอร์มาใช้ในการปูองกันก าจัดเชื้อสาเหตุของโรคพืชที่ติดมากับวัสดุปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยเฉพาะวัสดุ
                  ปลูกที่มีคุณสมบัติในการอุ้มน้ าได้ดี เช่น ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ และพีทมอส เป็นต้น

                                1.4.2 การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาก าจัดโรคพืช การน าเชื้อราไตรโคเดอร์มามาใช้โดย
                  การขยายจากเชื้อสด แล้วน ามาฉีดพ่นกับพืช หรือรดลงดินเพื่อใช้ในการก าจัดโรคพืชโดยตรง ซึ่งมีการใช้
                  มากมายเพื่อก าจัดโรคทั้งทางดินและทางพืช ไม่ว่าจะน ามาใช้ในด้านพืชสวนหรือพืชไร่ ส่วนใหญ่จะใช้ใน

                  การก าจัดเชื้อที่ก่อให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่า ผลเน่า สาเหตุจากเชื้อรา และเชื้อแบคทีเรีย ปัจจุบันเชื้อรา
                  ไตรโคเดอร์มาได้ถูกน ามาผลิตในรูปแบบของผงเพื่อสะดวกต่อการใช้ได้ง่าย และเก็บรักษาได้นาน โครงการ
                  พัฒนาวิชาการการควบคุมโรคพืชโดยชีวภาพ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน
                  ได้น าเชื้อรา  Trichoderma  harzianum  มาใช้ในการก าจัดโรครากเน่าโคนเน่า พบว่า อัตราของปริมาณเชื้อ
                                                6
                  เท่ากับ 6.30 log no. ต่อกรัม (2x10  CFUต่อกรัม) สามารถยับยั้งการเกิดเชื้อรากเน่าโคนเน่าได้ เมื่อน าไปต่อ
                  เชื้อด้วยข้าวสุก นอกจากนี้ชีวภัณฑ์ก าจัดศัตรูพืชที่มีชื่อการค้าว่า อินดิวเซอร์ เป็นเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดเดียว
                  สามารถก าจัดเชื้อโรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอรา และเชื้อรา  Pythium  sp. โดยใช้ผงเชื้อ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22