Page 21 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          10




                         3.2. ปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อกระบวนการย่อยสลายของปุ๋ยหมัก  (ส านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน,
                  2558)
                                3.2.1 ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยหมัก

                                      1) ขนาดและรูปร่างของเศษวัสดุหมัก ต้องมีขนาดเล็กและมีขนาดที่เหมาะสมเพื่อ
                  สามารถถูกย่อยสลายเป็นปุ๋ยหมักได้ดีและเร็วกว่าวัสดุที่มีขนาดใหญ่ โดยวัสดุหมักที่มีขนาดเล็กจะมีพื้นที่ผิวมาก
                  ท าให้การระบายอากาศในกองปุ๋ยหมักไม่ดี อากาศผ่านเข้า-ออกได้ยาก  ในขณะเดียวกันวัสดุหมักที่มีขนาดใหญ่
                  เกินไปจะท าให้มีพื้นที่ผิวลดลงกระบวนการย่อยสลายเกิดได้ช้า
                                      2) ความสดของเศษพืชถ้าใช้เศษพืชสดต้องน าไปตากแดดก่อนเพื่อลดความชื้น เพื่อช่วย

                  ให้กองปุ๋ยหมักไม่ชื้นมากจนเกินไป และสามารถระบายอากาศได้ดี
                                3.2.2  การเพิ่มประสิทธิภาพในการท างานของจุลินทรีย์ในกองปุ๋ยหมัก สามารถเติมวัตถุดิบที่
                  เป็นแหล่งอาหารให้แก่จุลินทรีย์ได้ เพื่อช่วยให้เกิดการย่อยสลายของปุ๋ยหมักได้ดีขึ้น เช่น มูลสัตว์ต่างๆ ยูเรีย

                  และกากน้ าตาลเป็นต้น ซึ่งในการผลิตปุ๋ยหมักจ านวน  1  ตัน สามารถใช้น้ าหมักชีวภาพที่ผลิตจากปลาจ านวน
                  9 ลิตร แทนยูเรียจ านวน 2 กิโลกรัมได้เช่นกัน
                                3.2.3 ความชื้นในกองปุ๋ยหมักควรเติมน้ าประมาณร้อยละ 50–60 โดยน้ าหนัก ในกองปุ๋ยหมัก
                  เพื่อให้มีความชื้นอยู่ในระดับที่เหมาะสมไม่แฉะจนเกินไป ซึ่งเหมาะแก่การย่อยสลาย โดยถ้าความชื้นน้อยกว่า

                  ร้อยละ 30 กิจกรรมการย่อยสลายจะเกิดขึ้นช้าๆ ในขณะที่ความชื้นมากกว่าร้อยละ 80 จะท าให้ขาดออกซิเจน
                  การย่อยสลายช้าลง
                                3.2.4 การระบายอากาศในกองปุ๋ยหมัก โดยการกลับกองปุ๋ยหมักอย่างสม่ าเสมอเพื่อช่วย
                  ระบายอากาศเพิ่มออกซิเจนให้แก่กองปุ๋ย และคลุกเคล้าวัสดุให้เข้ากันเพื่อช่วยกิจกรรมของจุลินทรีย์ให้

                  มีประสิทธิภาพ

                         3.3. มาตรฐานและคุณค่าทางธาตุอาหารของปุ๋ยหมัก
                             ปุ๋ยหมักที่ท าจากวัสดุเหลือใช้ต่างๆ เมื่อน ามาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์จะมีลักษณะและสมบัติ

                  ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ ดังนั้นต้องมีการก าหนดระดับของพารามิเตอร์ต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมต่อ
                  การน าไปใช้ และไม่ส่งผลกระทบต่อพืช ส าหรับประเทศไทยได้ก าหนดมาตรฐานของปุ๋ยอินทรีย์เป็นสภาพชื้น
                  (กรมวิชาการเกษตร, 2551; กรมพัฒนาที่ดิน, 2554) ซึ่งประกอบด้วย

                                3.3.1  ขนาดของปุ๋ยหมัก บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของการย่อยสลาย สามารถร่อนผ่าน
                  ตะแกรงขนาด 12.5x12.5 มิลลิเมตร
                                3.3.2  ปริมาณความชื้น และสิ่งที่ระเหยได้ ปุ๋ยหมักที่ดีควรมีความชื้นที่เหมาะสมของปุ๋ย
                  หลังย่อยสลายสมบูรณ์แล้วไม่เกินร้อยละ 30 โดยน้ าหนัก
                                3.3.3       ปริมาณอินทรียวัตถุ ควรจะมีค่าอินทรียวัตถุอยู่ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 20
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26