Page 52 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36








                       และแบบอื่นๆ
                                                      A = R K L S C P

                                                      ความหมายของค่าที่ใช้ในสมการ
                                                      A คือ ค่าเฉลี่ยปริมาณดินที่สูญเสีย  (Soil Loss) ของแปลงปลูกพืชต่อหน่วยพื้นที่

                       หน่วยวัดเดิมเป็นตันต่อเอเคอร์ต่อปี ปัจจุบันใช้สมการที่แปลงหน่วยเป็นตันต่อเฮคแตร์ต่อปี

                                                      R คือ ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (rainfall and runoff erosivity factor)
                       เป็นค่าความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝนที่ตกกระทบผิวหน้าดิน กับปริมาณความหนาแน่น

                       ของฝน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หน่วยวัดที่ใช้มีหลายรูปแบบ มีหลายสมการ
                                                     K คือ ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (soil erodibility factor)

                                                     L คือ ค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (slope length factor)

                                                     S คือ ค่าปัจจัยความลาดชัน (slope steepness factor)
                                                     C คือ ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (crop management factor)

                                                     P คือ ค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (conservation practice factor)


                                                      ค่าของปัจจัยที่ใช้ใน USLE  เป็นตัวเลขทศนิยมที่มีจ านวนเต็มเท่ากับ 1 ยกเว้น

                       ปัจจัยน้ าฝน (R)  มีค่าเป็นจ านวนหลักร้อยหรือหลักพัน ปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (L)  และ
                       ปัจจัยความลาดเท (S)  ที่มีขนาดใหญ่กว่าแปลงทดลองมาตรฐาน จะมีค่ามากกว่า 1 ทั้งสามปัจจัยนี้

                       เป็นตัวแปรส าคัญที่จะเป็นสาเหตุให้การประเมินการสูญเสียดินมีค่ามากหรือน้อย ส่วนปัจจัยความ
                       คงทนของดิน (K) ปัจจัยพืช (C) และปัจจัยด้านมาตรการฯ  (P) มีค่าน้อยกว่าหรือไม่เกิน 1 เสมอ

                                                      ในการพิจารณา เลือกมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมนั้น ใช้หลัก

                       พิจารณาจากการปรับลดค่าปัจจัยเหล่านี้ ซึ่งเมื่อค านวณผลลัพธ์ออกมาแล้ว ควรมีค่าการสูญเสียดิน
                       ลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

                                                      A  ค่าการสูญเสียดิน (soil loss) หน่วยวัดที่ใช้เป็น ตันต่อเฮคแตร์ต่อปีสามารถ
                       แปลงหน่วยเป็นตันต่อไร่ต่อปีหรือ มิลลิเมตรต่อปีโดย

                                                               เฮคแตร์ = 6.25 ไร่

                                                               ถ้าความหนาแน่นเฉลี่ยของดิน = 1.3 ดังนั้น แปลงหน่วยเป็นมิลลิเมตรจึง
                       เท่ากับ  (หน่วยเป็นตันต่อเฮคแตร์) หารด้วย 13

                                                      R factor  ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน คือ ปัจจัยของฝนในปีปกติเป็นผลรวม

                       รอบปีของผลคูณระหว่างพลังงานจลน์ของฝนที่ตกแต่ละครั้งกับอัตราการตกของฝน ในช่วงที่ฝนตกมี
                       พลังงานจลน์สูงสุด คือ ช่วงความหนาแน่นของฝนที่เวลา 30 นาที จึงเรียกพลังงานจลน์ของฝนว่า

                       EI30 และน ามาสร้างเป็นสมการหาค่า R factor ส าหรับประเทศไทยโดยมนูและคณะ (2527) ได้สร้าง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57