Page 56 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       40








                       ค านึงถึงการป้องกันการกัดกร่อนของดิน การรักษาความสามารถในการผลิตของดินและการใช้
                       ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสม ซึ่งจะช่วยรักษาสภาพไร่นาให้สามารถท าการเกษตรถาวรได้

                       ตลอดไป หลักการอนุรักษ์ดินและน้ า คือ การกัดกร่อนของดินที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยวิธีการที่
                       เหมาะสม รักษาระดับปริมาณธาตุอาหารพืชและอินทรียวัตถุในดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ปรับปรุง

                       โครงสร้างของดินให้อยู่ในสภาพที่มีความทนทานต่อการถูกกัดเซาะ ท าให้สามารถใช้น้ าได้อย่าง

                       ประหยัด (มนู, 2530)  การป้องกันหรือควบคุมการกัดกร่อนของดิน จะต้องด าเนินการทั้งในด้านการ
                       ลดความรุนแรงของเม็ดฝนที่ตกลงมากระทบผิวดิน ควบคุมปริมาณและความเร็วของน้ าไหลบ่าหน้า

                       ดิน และเพิ่มความต้านทานต่อการแยกตัวของเม็ดดิน ซึ่งมี 2 วิธีการ คือ

                                   3.8.1  การป้องกันการกัดกร่อนของดินโดยวิธีกล เป็นวิธีการควบคุมน้ าไหลบ่าหน้าดินโดย

                       การก่อสร้างสิ่งกีดขวางความลาดเทของพื้นที่ เพื่อขวางทิศทางการไหลของน้ า ลดความเร็วของ
                       กระแสน้ า โดยแบ่งความยาวของความลาดเทออกเป็นช่วงสั้น ๆ หลายตอน


                                  3.8.2 การป้องกันการกัดกร่อนของดินโดยวิธีการทางพืช เป็นการป้องกันโดยใช้วิธีการปลูก
                       พืชให้ปกคลุมหน้าดินไว้ จะช่วยลดแรงกระแทกของเม็ดฝน ลดความเร็วของน้ าไหลบ่าหน้าดิน รากพืช

                       ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับน้ าให้ซึมลงสู่ใต้ดินได้ดีขึ้น (ฝ่ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์, 2530)

                               คูรับน้ ารอบเขา เป็นการท าคูรับน้ าตามแนวระดับขวางความลาดเทเว้นช่วงเป็นระยะๆ

                       ประมาณ 10-12 เมตร และมีความกว้างคูน้ าแบบผนังด้านนอกเอียงเข้า 2 เมตร ใช้ส าหรับปลูกพืชไร่

                       ได้ในสภาพพื้นที่มีความลาดเทไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ หากใช้ปลูกกาแฟหรือไม้ผลใช้ได้ในสภาพพื้นที่
                       ลาดเทสูงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ (ส านักนิเทศและถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน, 2550)

                               บ่อดักตะกอน (sediment  trap  หรือ sand  trap)  คือ บ่อขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเพื่อดัก

                       ตะกอน ที่ไหลมาตามทางระบายน้ าไว้ก่อนลงสู่บ่อน้ าประจ าไร่นาเพื่อดักตะกอนที่ไหลมาตามน้ าไม่ให้
                       ไหลลงไป  ทับถมบ่อน้ าประจ าไร่นา ท าให้อายุการใช้งานของ  บ่อน้ ายาวนานขึ้น และเป็นการรักษา

                       คุณภาพของน้ า สร้างเหนือพื้นที่อ่างเก็บน้ า ก่อนที่น้ าจะพัดพา  ตะกอนดินไหลลงสู่อ่างเก็บน้ า ซึ่งท า
                       ให้อ่างเก็บน้ าตื้นเขินอย่างรวดเร็ว

                               ทางล าเลียงในไร่นา (farm road) หมายถึงทางล าเลียงที่สร้างโดยการ ท าคันดินให้มีขนาด

                       ใหญ่ส าหรับใช้เป็นทางล าเลียง  ผลิตผลการเกษตรสู่ตลาด เพื่อความสะดวกในการขนส่งผลิตผลจาก
                       พื้นที่ เกษตรสู่ตลาด และเพื่อเป็นถนนให้เครื่องจักรกลเข้าท างานในพื้นที่เพาะปลูก  ใช้ในพื้นที่ท า

                       การเกษตรที่มีความลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์ (ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7, 2555)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61