Page 51 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       35








                                                  (3) การสูญเสียธาตุอาหารในดินและท าให้ผลผลิตลดลง การชะล้างพังทลาย
                       โดยน้ าเป็นกระบวนการหนึ่งที่ท าให้ดินเสื่อมโทรม เนื่องจากมีการพัดพาดินชั้นบนซึ่งมีปริมาณ

                       อินทรียวัตถุที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชออกไปจากพื้นที่เดิม นอกจากนี้ยังมีผลท าให้การซึมน้ า
                       และ การอุ้มน้ าของดินลดลงด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ผลผลิตของพืชในพื้นที่นั้นๆ ลดลงตามไปด้วย

                                                  (4) ท าให้ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป การชะล้างพังทลาย

                       ของดินเกิดขึ้นจากผิวดินได้รับน้ ามากเกินความสามารถในการซึมน้ าของดิน จนเกิดน้ าไหลบ่าและพัด
                       พาเอาอนุภาคของดินออกไปจากพื้นที่เดิม ท าให้ผิวดินเกิดเป็นร่องขนาดเล็กหรือใหญ่แตกต่างกันตาม

                       ความรุนแรงของกระแสน้ า และเมื่อพื้นที่ในบริเวณนั้นๆ ได้รับอิทธิพลของการชะล้างมากขึ้น  มีผลท า
                       ให้พื้นที่ในบริเวณดังกล่าวเกิดการกัดเซาะเป็นร่องลึกขนาดใหญ่ (gully erosion) ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อ

                       การน าเครื่องจักรกลเข้าไปใช้ในงานในพื้นที่การเกษตร และการปรับระดับพื้นที่เพื่อการเพื่อปลูกพืชก็

                       ท าได้ยากเช่นกัน ท าให้แม่น้ าล าธารหรือแหล่งน้ าตื้นเขิน เมื่อผิวหน้าดินได้รับอิทธิพลจากเม็ดฝนและ
                       น้ าไหลบ่า ซึ่งจะพัดพาเอาอนุภาคดินไปตามความรุนแรงของกระแสน้ าไหลลงสู่แหล่งน้ าต่างๆ และ

                       เมื่อความเร็วของกระแสน้ าลดลง จะท าให้เกิดการตกตะกอนตามแหล่งน้ าเช่น บริเวณปากแม่น้ า

                       บริเวณที่แม่น้ าสองสายมาบรรจบกัน ท าให้พื้นที่บริเวณดังกล่าวเกิดเป็นดินดอน ล าน้ าตื้นเขิน ต้องเสีย
                       ค่าใช้จ่ายในการขุดลอกเป็นจ านวนมาก (สมชาย, 2530)


                       3.7 ปริมาณการสูญเสียดินและน้้าไหลบ่า


                               กรมพัฒนาที่ดิน (2543) รายงานว่าขบวนการกร่อนของดิน (soil  erosion)  ขบวนการ
                       กร่อนของดิน เริ่มต้นจากเม็ดฝนตกลงมากระแทกพื้นผิวดิน แรงกระแทกของเม็ดฝนท าให้อนุภาคดิน

                       แตกกระจาย มีขนาดเล็กลง ถูกพัดพาเคลื่อนย้ายไปกับน้ าไหลบ่าได้ง่าย  เมื่อพื้นที่มีสภาพเป็นร่องต่ า

                       น้ าจะไหลมารวมกันได้ มีปริมาณน้ ามากขึ้น พลังกัดเซาะดินมีมากขึ้น ยิ่งน้ าไหลรวมตัวกันได้มาก การ
                       กัดเซาะพัดพาอนุภาคดินจะรุนแรงขึ้นมากกลายเป็นร่องน้ าเล็ก ๆ เรียกว่า ร่องริ้ว หรือริ้ว (rill) หรือ

                       อาจกัดเซาะพัดพาดินจ านวนมากไปได้ กลายเป็นร่องน้ าลึกใหญ่ เรียกว่าร่องทางน้ า ร่องธาร (gully)

                       เป็นอุปสรรคในการท างาน การไถพรวน พื้นที่ปลูกพืชเสียหาย และอาจทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เกิดการ
                       กัดเซาะใหญ่ลึกมากขึ้น สูญเสียพื้นที่ท ากิน การเดินทางสัญจรไม่สะดวกไม่ปลอดภัย หลังจากการ

                       กร่อน พื้นผิวดินมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไป อนุภาคขนาดเล็กไหลลงไปตามช่องว่างในดิน เกิดการอุด

                       ตัน (sealing)  และจับตัวแน่นเป็นแผ่นแข็ง (crusting)  ความสามารถในการให้น้ าซึมผ่านได้ลดลง
                       ความชื้นในดินน้อยลง คงเหลือแต่อนุภาคขนาดใหญ่  เช่น หิน กรวด ทราย ลอยอยู่บนผิวหน้าดิน

                       ส่วนอนุภาคขนาดเล็ก เช่น ดินเหนียว อินทรียวัตถุถูกพัดพาไปหมดแล้ว

                                                      สมการสูญเสียดินสากล (USLE) ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ประเมินการกร่อนของดิน

                       แบบ raindrop erosion และ Sheet erosion โดยไม่ครอบคลุมการกร่อนแบบ rill, gully, stream
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56