Page 57 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       41








                       3.9 กรมพัฒนาที่ดินและการอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นดอน


                               กรมพัฒนาที่ดิน มีภารกิจและความรับผิดชอบโดยตรงในการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมทั้ง
                       ป้องกันการเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ที่ดินของชาติได้ท าการศึกษาทดสอบและเปรียบเทียบ เพื่อ

                       หาระบบและวิธีการ อนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2506 เป็นต้นมา ตลอดระยะเวลา 51

                       ปีที่ด าเนินการมา กรมพัฒนาที่ดินได้ศึกษาวิจัย คัดเลือกและพัฒนาระบบวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ าให้
                       เหมาะสมกับ สภาพปัญหา การใช้ที่ดิน สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของประเทศมาโดยตลอด จน

                       ปัจจุบันอาจจะกล่าวได้ว่า  กรมพัฒนาที่ดินได้พบระบบและวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม

                       ส าหรับประเทศไทย ค านิยามของ ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า คือ “การผสมผสานวิธีการป้องกันการชะ
                       ล้างพังทลาย ของดิน รวมทั้งวิธีการเก็บกักน้ าและความชุ่มชื้นไว้ในพื้นที่ เพื่อให้การใช้ประโยชน์ที่ดิน

                       เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และยั่งยืนนาน” ปัจจุบัน งานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า ได้มีการน ามาตรการ
                       ทั้งวิธีกลและวิธีพืชมาใช้โดย มาตรการและวิธีการที่ใช้แตกต่างไปตามสภาพปัญหาของพื้นที่ เช่น พื้นที่

                       สูงที่มีความลาดชันระดับต่างๆ เกิด  ปัญหาหน้าดินถูกชะล้างพังทลาย สูญเสียธาตุอาหารพืช และไม่

                       สามารถกักเก็บน้ าไว้ได้กรมพัฒนาที่ดินได้น ามาตรการทั้งวิธีกล เช่น การท าขั้นบันไดดิน คูรับน้ าขอบ
                       เขา คันดิน ฝายชะลอน้ า และวิธีพืช เช่น การปลูกพืช  คลุมดิน ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชสลับ

                       ส่งเสริมการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์แบบผสมผสาน รวมถึงการเขตกรรม เช่น การไถพรวนน้อยครั้ง หรือไม่
                       ไถพรวน สามารถลดการสูญเสียหน้าดิน ลดการสูญเสียธาตุอาหารพืช และเก็บกัก  น้ าได้ดีขึ้น มีการ

                       จัดการน้ าที่เหมาะสม และน าหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยปลูกร่วมกับ

                       มาตรการวิธีกล ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนที่ดอน คือพื้นที่ลาดเชิงเขา มีระดับความสูงต่ ากว่า 500
                       เมตร จากระดับน้ าทะเล หรือมีความลาดเทตั้งแต่ร้อยละ 3-15 ส่วนมากใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกพืช

                       ไร่ ไม้ผล และทุ่ง หญ้าเลี้ยงสัตว์  (กลุ่มแผนงาน, 2561)


                       3.10 งานวิจัยเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน้้า



                               จากผลการศึกษาในพื้นที่สูงมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า แบบขั้นบันไดดินร่วมกับการปลูก
                       หญ้าแฝก พบว่า การสูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช ปริมาณการสูญเสียจะสัมพันธ์กับปริมาณ

                       น้ าไหลบ่าและตะกอนจากลุ่มน้ า และลดการสูญเสียดินและน้ า รักษาความอุดมสมบูรณ์ให้กับพื้นที่

                       และปลดปล่อยน้ าที่คุณภาพดีให้กับพื้นที่ตอนล่าง ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยให้ลุ่มน้ ามีคุณภาพ
                       ดีใกล้เคียงกับลุ่มน้ าป่าดิบเขาธรรมชาติ (พัฒนา และคณะ, 2551)  นอกจากนี้แล้วการใช้ประโยชน์

                       ที่ดินบนพื้นที่สูงที่ขาดมาตรการอนุรักษ์  ท าให้ดินถูกชะล้างจากผลการวิจัยบนพื้นที่สูงจังหวัด

                       เชียงใหม่ พบว่าพื้นที่สูงที่ใช้พื้นที่ปลูกผักอยู่สูงจากระดับน้ าทะเลปานกลาง 1,222-1,323 เมตร มี
                       ความลาดชันประมาณ 18-33 เปอร์เซ็นต์ ดินบนเป็นดินร่วนปนเหนียว มีอัตราการชะล้างพังทลายดิน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62