Page 50 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       34








                       ของพื้นที่  ลักษณะพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่   คุณสมบัติของดินและการจัดการดิน ซึ่งปัจจัยต่างๆ
                       เหล่านี้มีผลต่อการสูญเสียอนุภาคของดินจากพื้นที่เป็นอย่างมาก น้ าฝนและน้ าไหลบ่าหน้าดิน เป็น

                       ตัวการที่ส าคัญที่ท าให้เกิดกระบวนการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งความรุนแรงของเม็ดฝนท าให้
                       อนุภาคของดินแตกกระจาย และน้ าไหลบ่าหน้าดินจะเป็น  ตัวพัดพาเอาอนุภาคของดินที่แตกกระจาย

                       ออกไปจากพื้นที่ (สมเจตน์, 2522)

                               เมื่อมีฝนตก เม็ดฝนจะตกกระทบกับผิวหน้าดินโดยตรง ท าให้เม็ดดินแตกกระจายและถูก
                       พัดพาออกไปจากพื้นที่ เมื่อปริมาณน้ าไหลบ่าผิวหน้าดินไหลมารวมตัวกันในปริมาณมากขึ้น น้ าจะไหล

                       ออกจากพื้นที่อย่างรวดเร็ว ในพื้นที่ที่มีความลาดเทสูงจะท าให้เกิดการกัดเซาะผิวดินเป็นริ้วหรือร่อง
                       ขนาดใหญ่ ถ้าปล่อยทิ้งไว้เป็นระยะเวลานานอาจท าให้เกิดความเสียหายจนเกิดกระบวนการชะล้าง

                       พังทลายของดินในรูปแบบอื่นในระดับที่รุนแรงได้และยากต่อการแก้ไข ซึ่งไม่สามารถที่จะป้องกันได้

                       อย่างสิ้นเชิง แต่ก็ต้องหาวิธีที่ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินให้น้อยที่สุด (กรมพัฒนาที่ดิน,
                       2543)

                               พืชจะได้รับประโยชน์จากน้ าฝน ที่ไหลลงไปอยู่ในดิน โดยรากพืชดูดขึ้นมาใช้ในการปรุง

                       อาหาร (photo synthesis) และการคายน้ าของพืช (transpiration) นอกจากนี้ลักษณะของฝนที่เป็น
                       ประโยชน์ต่อพืช คือ การกระจายของฝนที่มีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชมากกว่าจ านวน

                       น้ าฝน พืชต้องการน้ าฝนสม่ าเสมอและ มีจ านวนมากพอสมควรในระหว่างการเจริญเติบโต เนื่องจาก
                       บนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ต้องอาศัยน้ าฝนเป็นแหล่งน้ าส าหรับท าการเกษตร ประกอบกับลักษณะพื้นที่ที่มี

                       ความลาดเท ท าให้พื้นที่ดังกล่าว   มีการชะล้างพังทลายได้ง่าย ถ้ามีปริมาณน้ าฝนตกมากและตกหนัก

                       จะเป็นลักษณะของฝนที่ท าลายเพราะน้ าฝนหรือแรงปะทะของเม็ดฝนจะกระแทกและชะล้างผิวหน้า
                       ดินไป เนื่องจากเม็ดฝนที่ตกลงมานั้นมีพลังงานเกิดขึ้น มีมวล (mass)  และความเร็ว (velocity)  เมื่อ

                       ตกมากระทบผิวดินก็จะถ่ายทอดพลังงานให้กับผิวดิน แรงตกกระทบของเม็ดฝนท าให้อนุภาคดินแตก
                       กระจายถูกน้ าพัดพาออกไปจากพื้นที่นั้น ท าให้สูญเสียปริมาณธาตุอาหารไปด้วย (วิศิษฏ์, 2521)


                                ผลกระทบจากการชะล้างพังทลายของดินจะก่อให้เกิดความสูญเสียดังนี้

                                                  (1) ท าให้โครงสร้างของดินถูกท าลาย เมื่อเม็ดฝนตกกระทบผิวดิน พลังงานใน

                       เม็ดฝนจะก่อให้เกิดแรงตกกระแทก ท าให้อนุภาคของดินที่ผิวหน้าดินแตกกระจาย และกระเด็น
                       ออกไปจากพื้นที่ ส่วนดินที่อยู่ใต้ผิวดินลงไปเล็กน้อยจะได้รับแรงกระแทก ท าให้เนื้อดินแน่นทึบ

                       ปริมาณน้ าจะซึมผ่านชั้นดินได้น้อย

                                                  (2)  ท าให้เกิดการสูญเสียหน้าดิน เกิดขึ้นจากเม็ดฝนที่ตกกระทบผิวดิน ท าให้
                       อนุภาคของดินที่จับตัวเป็นก้อนแตกกระจายเป็นอนุภาคเล็กๆ ที่มีน้ าหนักเบา เมื่อไม่สามารถซึมลง

                       ผ่านชั้นดินได้จึงสะสมเป็นน้ าไหลบ่าหน้าดิน พัดพาเอาอนุภาคที่แตกกระจายเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่

                       ได้   ง่ายขึ้น ซึ่งการเคลื่อนย้ายดินออกจากพื้นที่นี้จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อพื้นที่ดินเดิม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55