Page 47 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31








                       พืช เพื่อเตรียมดินส าหรับการเพาะปลูกในฤดูที่ก าลังจะมาถึง ประกอบกับอากาศในช่วงฤดูแล้งมักมี
                       สภาพที่แห้งและนิ่ง ฝุ่นละอองสามารถแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้นานไม่ตกสู่พื้นดิน จึงท าให้มี

                       ปริมาณฝุ่นในบรรยากาศสูง การเผาเศษวัสดุในพื้นที่การเกษตรทั่วประเทศจึงก่อให้เกิดสารมลพิษเป็น
                       จ านวนมากรวมทั้งก๊าซเรือนกระจกด้วย (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)

                                  ปัญหาหมอกควันที่เกิดขึ้นเป็นประจ าทุกปีทางภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุส่วนหนึ่ง

                       เกิดจากไฟป่าซึ่งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ จากธรรมชาติ และ ฝีมือมนุษย์ โดยไม่ว่าจะวิธีการใดไฟจะ
                       ท าให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง ไฟป่าลุกลามและร้ายแรงได้มากถ้ามีเชื้อเพลิงและอากาศเป็น

                       ปัจจัยเกื้อหนุน โดยในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายนของทุกปี ตามพื้นที่ 10  จังหวัดภาคเหนือ
                       ตอนบน ซึ่งได้แก่ ล าปาง ล าพูน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แม่ฮ่องสอน ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน

                       จะมีสภาพหมอกควันปกคลุมหนาแน่น เป็นบริเวณกว้าง การเผาเศษพืชและการเตรียมดินเป็นวิธี

                       ปฏิบัติอย่างหนึ่งของเกษตรกรในการปลูกพืช โดยเฉพาะจะช่วยลดปัญหาของวัชพืชลงได้และเพื่อ
                       ความสะดวกในการเตรียมแปลงปลูกพืช อย่างไรก็ตามวิธีปฏิบัติดังกล่าวบนที่ลาดชันเป็นสาเหตุหนึ่งที่

                       ท าให้ดินเสื่อมโทรมลงและช่วยเร่งท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ท าการเกษตรเพิ่มมาก

                       ขึ้น ซึ่งเป็นอันตรายอย่างมากในการใช้ประโยชน์ที่ดินและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยส่วนรวม
                       พื้นที่กว่า 1.83  ล้านไร่ และมีต าบลที่มีการเผาในระดับสูงกว่า 200  ต าบล ประกอบกับสถานการณ์

                       หมอกควันภาคเหนือภาพรวมอยู่ในช่วงเฝ้าระวัง มีค่าฝุ่นละอองตั้งแต่ 68-101 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์
                       เมตร ค่าสูงสุดอยู่ที่บริเวณจังหวัดล าพูน และไม่ว่าจะเป็นการเผาในพื้นที่การเกษตรหรือการเผาป่านั้น

                       ทั้งหมดล้วนแต่เป็นการท าลายโครงสร้างและความอุดมสมบูรณ์ของดิน ท าให้สูญเสียน้ าในดิน เนื้อดิน

                       จับตัวกันแน่นและแข็ง อีกทั้งจะท าให้ดินสูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน (กรมพัฒนาที่ดิน
                       ,2560)

                              กรมพัฒนาที่ดิน ได้น ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า มาเป็นแผนป้องกันและบรรเทาภาวะโลก
                       ร้อนด้วย เนื่องจากการจัดการระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าอย่างถูกต้องเหมาะสมจะสามารถช่วยรักษา

                       น้ า รักษาป่าและรักษาปริมาณคาร์บอนในดินไม่ให้ไหลไปกับการชะล้างพังทลายของหน้าดิน พร้อมกัน

                       นี้ ได้ส่งเสริมการปลูกไม้ยืนต้นบริเวณหัวไร่ปลายนาหรือพื้นที่ทิ้งร้าง เพราะต้นไม้ใหญ่จะช่วยดูดซับ
                       ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ในปริมาณมากขึ้น การลดกิจกรรมที่จะส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน

                       โดยเฉพาะลดการเผาตอซังเศษพืช ซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยลดโลกร้อนได้เท่านั้น เพราะการไถกลบตอซังเศษ

                       พืชสามารถช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืชผลทางการเกษตร
                       ดังนั้นกรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดท าโครงการลดการเผาพื้นที่เกษตรบนพื้นที่โล่งเตียน  เพื่อบรรเทา

                       ภาวะโลกร้อน เพื่อเป็นการฟนฟูสภาพแวดล้อมให้กลับคืนสูสภาพเดิม และเป็นการใชประโยชน์ที่ดิน

                       อย่างยั่งยืน เพื่อลดการเผาพื้นที่เกษตรบนพื้นที่โล่งเตียน เป็นการช่วยบรรเทาภาวะโลกรอนได้ใน
                       ระดับหนึ่ง และบรรเทามลพิษทางอากาศ การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าและส่งเสริมการปลูกไม้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52