Page 43 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27








                       การไหลบ่าของน้ าอย่างรวดเร็วในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง พืชพันธุ์ที่ขึ้นตามธรรมชาติโดยทั่วไปเป็น
                       ป่าที่ขึ้นใหม่ ซึ่งจะเจริญขึ้นเป็นป่าแดง ป่าโคก หรือป่าแพะ(โครงการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตร

                       ภาคเหนือ, 2530ข)

                                  กลุ่มชุดดินที่ 62 ดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ดิน
                       ที่พบในบริเวณดังกล่าวนี้มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตาม

                       ธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน หรือหินพื้น
                       โผล่ กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่าง ๆ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง

                       หรือป่าดิบชื้น หลายแห่งมีการท าไร่เลื่อนลอย โดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ า ซึ่ง
                       เป็นผลท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินพื้นโผล่ ได้แก่ชุดดินที่ลาดชัน

                       เชิงซ้อน (Sc) กลุ่มชุดดินนี้ไม่ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากมีปัญหาหลายประการที่

                       มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งต้นน้ าล าธาร
                               ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน  พื้นที่ภูเขาลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีการกัดกร่อน

                       ของดินได้ง่าย ดินกลุ่มที่ 62 มีศักยภาพไม่เหมาะสมที่จะน ามาใช้ในการเพาะปลูกพืช เนื่องจากเป็นดิน

                       ตื้น มีหินโผล่ที่ผิวดินเป็นส่วนใหญ่ และพื้นที่เป็นภูเขาสูงชัน มีความลาดเทเฉลี่ยเกิน 35  เปอร์เซ็นต์
                       ง่ายต่อการชะล้างพังทลายของดินจึงเหมาะสมที่จะรักษาไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติเพื่อรักษา

                       สภาพแวดล้อมและเป็นพื้นที่ต้นน้ าล าธาร
                               การจัดการดินกลุ่มชุดดินที่ 62 ป้องกันการบุกรุกท าลายป่า ถ้ามีการบุกรุกท าลายป่า ควร

                       เร่งรัดการปลูกป่าทดแทน และบ ารุงรักษาป่าธรรมชาติที่มีอยู่ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น บริเวณที่ลาดชันและ

                       ง่ายต่อการชะล้างพังทลายควรน ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมมาใช้ทั้งมาตรการทาง
                       เกษตรกรรมและทางวิศวกรรม ดินกลุ่มที่ 62 ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะน ามาใช้ทางการเพาะปลูกหรือ

                       ทางการเกษตร ส่วนใหญ่อยู่ในเขตลุ่มน้ าชั้น 1 ดังนั้นควรเก็บสงวนหรือรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่าไม้
                       เพื่อเป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร หรือเขตป่าอนุรักษ์อื่นๆ เนื่องจากพื้นที่ส่วนนี้มีลักษณะและคุณสมบัติที่มี

                       ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ในกรณีที่ไม่สามารถ

                       หลีกเลี่ยงได้ควรเป็นการใช้ประโยชน์ในเชิงอนุรักษ์หรือทางด้านวนเกษตร (กรมพัฒนาที่ดิน, 2539)
                               พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC  :  slope  complex)  พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชัน

                       มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา ส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มี

                       ความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาส าหรับการเกษตร  มีความลาดชันสูงมาก ใน
                       พื้นที่ท าการเกษตรจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง ขาดแคลนน้ าและบางพื้นที่

                       อาจพบชั้นหินพื้นหรือเศษหินกระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดินควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าตามธรรมชาติ

                       เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า แหล่งต้นน้ าล าธาร ในกรณีที่จ าเป็นต้องน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
                       จ าเป็นต้องมีการศึกษาดินก่อน เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืช โดยมีการใช้
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48