Page 42 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26








                                   พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด (undulating)  หรือมีความลาดชันเล็กน้อย (gently  sloping) มี
                       ความลาดชัน 2-8 เปอร์เซ็นต์ สภาพพื้นที่เช่นนี้เหมาะในการปลูกพืชทุกชนิด ยกเว้นข้าว แต่ต้องมีการ

                       จัดการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าพอสมควร เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับ (ส านักงานเลขานุการกรม,
                       2530)

                               พื้นที่เนินเขา (hilly) ที่เป็นเนินเขาเตี้ยๆ มีความ ลาดชัน 16-35 เปอร์เซ็นต์ ที่ดินเกิดส่วน

                       ใหญ่เกิดจากการสลายตัวของหินพื้นล่างหรือเกิดจากหินลาด เชิงเขา ส่วนใหญ่จะ เป็นดินตื้นมีเศษหิน
                       ปะปน การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นป่าไม้ธรรมชาติ  (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2544) เป็นพื้นที่มี

                       ความลาดชันมาก (moderately  steep) มีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์ สภาพพื้นที่ประเภทนี้
                       ถึงแม้ว่าอาจใช้ท าเป็นพื้นที่เกษตรได้ แต่ควรมีการใช้ที่ดินอย่างระมัดระวัง หรือควรมีการอนุรักษ์ดิน

                       และน้ าเป็นพิเศษ เพราะสภาพพื้นที่เช่นนี้ย่อมมีอัตราเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินค่อนข้างสูง

                       การใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่บนสภาพพื้นที่เช่นนี้มีข้อจ ากัดมาก ถ้าจะใช้ปลูกพืชต้องมีการท าคันดิน
                       หรือขั้นบันได เพื่อลดอัตราการกัดกร่อนของดิน พืชคลุมดินเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับการปลูกไม้ยืนต้น ถ้า

                       ท าเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ถาวร จ าเป็นอย่างยิ่งต้องมีการจัดการที่ดีไม่ปล่อยสัตว์เข้าไปมากเกิน

                                   พื้นที่สูงชัน (steep) เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์ โดยทั่วไปไม่เหมาะในการ
                       ที่จะน ามาใช้ท าการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกพืชไร่ ในกรณีที่มีความจ าเป็นที่จะใช้ที่ดินประเภทนี้

                       ควรใช้ปลูกไม้ยืนต้น ต้องมีการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน หรือท าขั้นบันไดก่อนปลูกพืชควบคู่
                       ไปกับการปลูกพืชคลุมดิน ถ้าท าเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ต้องมีการควบคุมจ านวนสัตว์ต่อหน่วยพื้นที่

                       อย่างเข้มงวด และมีวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม ลักษณะพื้นที่เช่นนี้ควรปล่อยให้คงสภาพ

                       เป็นป่า


                       3.3 ดินบนพื้นที่ดอน


                               บนที่ดอนลานตะพักน้ าระดับสูง ประกอบด้วยดินพวก podzolics  (ultisols) สีเหลืองปน

                       แดงมีกรวดปน และพวก latosols  (alfisols)  เป็นดินร่วนสีแดงในบริเวณที่ต่ าลงมาดินจะค่อยๆ

                       เปลี่ยนเป็นพวก podzolics สีเทาที่เป็นดินร่วน ดินในพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อนมักจะมีก้อนหิน
                       ปนเป็นจ านวนมาก และประกอบด้วยเศษและชิ้นส่วนของหินที่ก าลังสลายตัวและมีเหลี่ยมมุม อีกทั้งมี

                       laterite ที่มีลักษณะเป็นก้อนกลมปนเหลี่ยมรวมอยู่ด้วย
                               ดินส่วนใหญ่ในบริเวณที่ดอนมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีอินทรียวัตถุต่ ากว่า 2 เปอร์เซ็นต์ การ

                       อิ่มตัวด้วยด่างต่ าและความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกโดยทั่วไปน้อยกว่า 3 มิลลิกรัม

                       สัมบูรณ์ต่อ 100 กรัม สภาพของดินโดยทั่วไปเป็นกรด มีระดับความเป็นกรดเป็นด่าง (น้ า) อยู่ระหว่าง
                       5.0-6.5 ความสามารถในการซาบซึมน้ าของดินในสภาพที่มีพืชพันธุ์ขึ้นตามธรรมชาติอยู่ในระดับปาน

                       กลางถึงเร็ว เป็นผลให้มีการไหลบ่าของน้ าเพียงปานกลางหรือเล็กน้อยในพื้นที่ที่มีความลาดชันต่ า มี
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47