Page 52 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          43


                                1. เนื้อดินเป็นดินปนทราย
                                2. ดินมีการชะล้าง
                                3. ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                                4. มีแมลงศัตรูพืชรบกวน
                                5  ผลผลิตตกต่ า
                         2.2 ก าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาโดยอาศัยแนวทาง และวิธีการของกรมพัฒนาที่ดิน ดังนี้
                                1.  ไถกลบตอซังเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                                2.  ปลูกหญ้าแฝกเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในดิน
                                3.  ผลิตปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 เพื่อปรับโครงสร้างดินและเพิ่มความสมบูรณ์ของ
                         ดิน

                                4.  ใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2  เพื่อผลิตน้ าหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิต
                                5.  ใช้ปุ๋ยพืชสด  เพื่อเพิ่มธาตุไนโตรเจน  และเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
                                6.  ใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.7  เพื่อผลิตสารป้องกันก าจัดแมลงศัตรูพืช
                         2.3 การด าเนินการแก้ไขปัญหา
                         จากปัญหาเบื้องต้น พบว่า เดิมสภาพพื้นที่ของศูนย์ฯ  เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินทรายปน

                  ดินร่วน สีพื้นเป็นสีเทาหรือน้ าตาลปนเทามีจุดประสีน้ าตาลปนเหลือง หรือสีเหลืองปนน้ าตาลอ่อนและอาจพบ
                  ศิลาแลงอ่อนในดินชั้นล่าง มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ เป็นดินลึก มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมีความ
                  อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดแก่  ส่วนใหญ่ใช้ท านา โดยใช้สารเคมีและ

                  ปุ๋ยเคมีในปริมาณสูง  มีแมลงศัตรูพืชรบกวนได้ผลผลิตต่ า  มีโรคแมลงรบกวน มีค่าใช้จ่ายสูงในการซื้อปัจจัยการ
                  ผลิต เช่น ปุ๋ยเคมี  สารเคมีปราบวัชพืช สารปราบแมลงศัตรูพืช  จึงมีแนวทางแก้ไขปัญหาโดยการจัดท าจุด
                  เรียนรู้ ดังนี้
                         จุดเรียนรู้ที่ 1 จุดเรียนรู้การไถกลบตอซัง

                         เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินในนาข้าวหลังเก็บเกี่ยวข้าว แล้วผสมน้ าหมักชีวภาพกับน้ า จ านวน 3
                  ลิตรต่อไร่ กับน้ า 100 ลิตร  เทสารละลายน้ าหมักชีวภาพไหลไปตามน้ าขณะที่เปิดน้ าเข้านาจนทั่วแปลง   ใช้รถ
                  ตีฟางย่ าฟางให้จมลงดินหมักฟางทิ้งไว้เป็นเวลา 10 วันใส่น้ าหมักชีวภาพ 2 ลิตรผสมกับน้ า 100 ลิตรสาดให้ทั่ว
                  แปลงนาอีกครั้ง หมักไว้อีก 5-10 วันจนเปื่อยยุ่ยเต็มที่ไถ คราด ท าเทือก เพื่อปลูกข้าวต่อไปตามปกติ

                         จุดเรียนรู้ที่ 2 จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักชีวภาพ
                         จากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2  โดยใช้น้ าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักผลไม้และผัก   โดยก่อนใช้ผสมน้ า
                  หมักชีวภาพเข้มข้น  1 ลิตรต่อน้ าสะอาด 500 ลิตร  ฉีดพ่นที่ใบและล าต้น 10 วันต่อครั้ง   เพื่อเร่งการ
                  เจริญเติบโตของพืช เพิ่มการขยายตัวของใบ  และการยืดตัวของล าต้น  ท าให้ออกดอกและติดผลดีขึ้น

                         วัสดุส าหรับผลิตน้ าหมักชีวภาพ  จ านวน  50  ลิตร
                         1.  หอยเชอรี่ และสับประรด    40   กิโลกรัม
                         2.  กากน้ าตาล               10   กิโลกรัม

                         3.  น้ าสะอาด                10   ลิตร
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57