Page 51 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          42


                                                 ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ
                         ระยะเวลาที่ด าเนินการ
                         เริ่มด าเนินการ   ตุลาคม  2555

                         สิ้นสุดการด าเนินการ   กันยายน 2557
                         สถานที่ด าเนินการ
                         ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ครอบคลุมพื้นที่  29  ไร่  ในแปลงของหมอดินอาสาประจ า
                  อ าเภอ  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี  ชื่อเจ้าของแปลง นายส าลี  บัวเงิน   สถานที่ บ้านทุ่งสว่าง หมู่ที่ 3

                  ต าบลโนนกลาง  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี
                         ค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ UTM - N 1654418      E 471514


                                                   ขั้นตอนและวิธีการด าเนินงาน
                         1.   คัดเลือกพื้นที่หมอดินอาสา  โดยพิจาณาจากพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชุมชน การคมนาคมสะดวก  เจ้าของ
                  แปลงมีความพร้อม  และพื้นที่เป็นตัวแทนของปัญหาส่วนใหญ่  จากพิจารณาจ านวน 9 ต าบลในอ าเภอส าโรง
                  จังหวัดอุบลราชธานี  ได้พื้นที่บ้านทุ่งสว่าง หมู่ที่ 3 ต าบลโนนกลาง อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี  ขนาด
                  พื้นที่ 29  ไร่  ซึ่งเป็นหมอดินอาสาประจ าอ าเภอที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดเทคโนโลยี และพื้นที่มีศักยภาพที่

                  จะเป็นแปลงสาธิตด้านการพัฒนาที่ดิน  โดยรวบรวมรูปแบบการพัฒนาที่ดินด้านต่าง ๆ   มาไว้ในจุดเดียว  เพื่อ
                  เป็นแปลงตัวอย่างในการเรียนรู้ให้เกษตรกรที่สนใจ
                         2.    วิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่ที่ด าเนินการ   โดยการตรวจสอบในพื้นที่ตามโปรแกรมดินไทยและธาตุ

                  อาหารพืช  พบว่า เป็นกลุ่มชุดดินที่ 22  ชุดดินสีทนดังมีรายละเอียดของกลุ่มชุดดินต่างๆดังนี้
                         กลุ่มชุดดินที่ 22
                         เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือ
                  จากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือค่อนข้าง

                  ราบเรียบส่วนใหญ่มีน้ าแช่ขัง ในช่วงฤดูฝนมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน
                  เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหยาบ โดยมีเนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปน
                  ทรายหรือดินทรายปนดินร่วนดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีพื้นเป็นสีเทาหรือสีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสีน้ าตาล
                  ปนเหลืองหรือสีเหลืองปนน้ าตาล และอาจพบมีศิลาแลงอ่อน ในดินชั้นล่างดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม

                  ธรรมชาติต่ าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัดมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5 โดยใน
                  จังหวัดอุบลราชธานีพบกลุ่มชุดดินที่ 22 22hi และ22B
                         ข้อมูลดิน ชุดสีทน  กลุ่มชุดดินที่ 22
                         ลักษณะโดยทั่วไป   เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินทรายปนดินร่วนสีพื้นเป็นสี

                  เทาหรือน้ าตาลปนเทามีจุดประสีน้ าตาลปนเหลือง หรือสีเหลืองปนน้ าตาลอ่อนและอาจพบศิลาแลงอ่อนในดิน
                  ชั้นล่าง มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบเป็นดินลึก มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม
                  ธรรมชาติต่ าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดแก่ ค่าความเป็นกรด เป็นด่างประมาณ 4.5-5.5

                         2.1 จากการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถสรุปปัญหาได้ดังนี้
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56