Page 98 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         87


                             1) เศษพืชที่มีขนาดเล็ก เช่น แกลบ ขี้เลื่อย โดยน่าส่วนผสมของวัสดุตามสัดส่วนมาคลุกเคล้าให้

                  เข้ากันแล้วกองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ดังภาพที่ 5.5
                             2) เศษพืชที่มีขนาดยาว เช่น ฟางข้าว ผักตบชวา ทะลายปาล์ม  ควรกองเป็นชั้นๆ 3 – 4 ชั้น

                  หรือถ้าเป็นกิ่งไม้ขนาดใหญ่ควรบดหรือย่อยด้วยเครื่องสับก่อน ดังภาพที่ 5.6



















                     ภาพที่ 5.5 การกองปุ๋ยหมักแบบผสมคลุกเคล้า         ภาพที่ 5.6 การกองปุ๋ยหมักแบบเป็นชั้น
                                      ที่มา: ดัดแปลงมาจากส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (2551)


                         5.3 ขั้นตอนการทําปุ๋ยหมัก มีดังนี้
                             1. แบ่งส่วนผสมของวัสดุออกเป็น 3 ส่วน

                             2. ผสมสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ่านวน 1 ซอง ในน้่า 20 ลิตร คนนานประมาณ 10 – 15 นาที
                  เพื่อกระตุ้นจุลินทรีย์ออกจากสภาพที่เป็นสปอร์และพร้อมที่จะเกิดกิจกรรม

                             3. การกองชั้นแรก น่าเศษพืชแห้งที่แบ่งไว้ส่วนที่หนึ่งมากอง  มีขนาดกว้าง  2  เมตร  ยาว 3

                  เมตร และสูงประมาณ 30 – 40 เซนติเมตร  ย่าให้พอแน่นและรดน้่าให้ชุ่มทั่วกอง
                             4. ใส่มูลสัตว์ทับชั้นเศษพืชและเกลี่ยให้ทั่วกองจากนั้นโรยปุ๋ยไนโตรเจนหรือน้่าหมักจากปลาให้

                  ทั่วชั้นมูลสัตว์
                             5. ใส่สารละลายจุลินทรีย์ให้ทั่วกองปุ๋ยสิ้นสุดการกองชั้นแรกหลังจากนั้นน่าเศษพืชมากองทับ

                  เพื่อท่าชั้นต่อไป  โดยปฏิบัติการเหมือนกับการกองชั้นแรก ท่าต่ออีก 2 - 3ชั้น

                             6. กองปุ๋ยที่กองเสร็จแล้ว ชั้นบนสุดของกองปุ๋ยให้ปิดทับด้วยดินพลาสติกหรือทางมะพร้าว เพื่อ
                  ป้องกันการสูญเสียความชื้น


                         5.4 การปฏิบัติและดูแลรักษากองปุ๋ยหมัก
                             สิ่งที่ส่าคัญอีกประการหนึ่งหลังจากการกองปุ๋ยหมัก คือ การปฏิบัติและดูแลรักษาจนกระทั่งกอง

                  เศษวัสดุนั้นเป็นปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์  สามารถน่าไปใช้ประโยชน์ใส่ลงดิน  เพราะการปฏิบัตินี้เป็นการควบคุม
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103