Page 103 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         92


                  สลายอย่างสมบูรณ์หนาประมาณ 15 เซนติเมตร  เพื่อใช้เป็นฉนวนและป้องกันการแพร่กระจายของกลิ่น

                  การท่าปุ๋ยหมักวิธีนี้จะใช้เวลาประมาณ 3 – 5 สัปดาห์  (Misra et al., 2003)  ดังภาพที่ 5.12












                                            ภาพที่ 5.12 การผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ

                                                                       ที่มา: ธีระพงษ์ (2549)
                         8.2.4  การทําปุ๋ยหมักในภาชนะปิด (In-Vessel Composting)  เช่น

                                  8.2.4.1 แบบถังแนวตั้ง (Vertical  BioTower)  การท่าปุ๋ยหมักแบบนี้จะใช้พื้นที่น้อย

                  เนื่องจากท่าในภาชนะรูปทรงกระบอกแนวตั้ง  ที่ติดตั้งเครื่องจักรและระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ  ท่าให้มี
                  ราคาแพงและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง (Walker et al ., 1989)  อาทิ ถังหมักแนวตั้งของบริษัท Chubu

                  Ecotec จากประเทศญี่ปุ่น  ซึ่งสามารถผลิตปุ๋ยหมักได้ถึง 20 ตันต่อวัน  โดยการโหลดวัสดุหมักลงในถัง  ท่า
                  การหมุนเพื่อผสมวัสดุหมัก  การระบายอาการผ่านเข้าออกจากแผ่นกรองชีวภาพ  มีการหมุนเวียนน่าน้่าชะที่

                  ออกจากระบบการหมักมาใช้ใหม่  และการปลดปล่อยปุ๋ยหมักออกจากระบบอย่างอัตโนมัติ  พร้อมทั้งควบคุม

                  อุณหภูมิ ความชื้น และออกซิเจนโดยคอมพิวเตอร์  ซึ่งถังหมักแนวตั้งของบริษัท Chubu  Ecotec  นี้ใน
                  ประเทศไทยมีติดตั้งและเดินเครื่องอยู่ที่จังหวัดขอนแก่นเพื่อผลิตปุ๋ยหมักจากมูลไก่  ดังภาพที่ 5.13



















                                                   ภาพที่ 5.13 ถังหมักแนวตั้ง

                                        ที่มา: http://www.allbaba.com/product=detaiis-6Oct-119732628 html
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108