Page 97 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         86


                  ค่านึงถึงชนิดของจุลินทรีย์และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับจุลินทรีย์ เช่น การเพิ่มธาตุอาหาร การใส่มูลสัตว์

                  การรักษาความชื้น และการกลับกองเป็นครั้งคราว  เพราะเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการด่าเนิน
                  กิจกรรมของจุลินทรีย์จะช่วยท่าให้อัตราการย่อยสลายเศษพืชเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว  ท่าให้ช่วยลด

                  เวลาในการท่าปุ๋ยหมักให้สั้นลง  ดังรายงานวิจัยของฉวีวรรณและพิมพ์ธิดา (2555) พบว่า ประสิทธิภาพการใช้

                  สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 กับการย่อยวัสดุหมัก 3 ชนิด ได้แก่ ทะลายปาล์ม กากสบู่ด่า และเปลือกถั่วพร้า จะใช้
                  เวลาในการท่าปุ๋ยหมักน้อยกว่าการใช้สารเร่ง พด.1  และการไม่ใช้สารเร่งจะใช้เวลาในการท่าปุ๋ยหมักมากที่สุด

                  แต่ถ้าไม่มีสารเร่ง (เชื้อจุลินทรีย์) ก็ไม่เป็นอุปสรรคในการผลิตปุ๋ยหมัก  เนื่องจากจุลินทรีย์ที่ติดมากับวัสดุก็
                  สามารถช่วยย่อยสลายวัสดุได้ดี  ถ้าสภาพแวดล้อมในกองปุ๋ยหมักมีความเหมาะสม  และวิธีการกองปุ๋ยหมักไม่

                  มีข้อก่าหนดแน่นอนแต่จะขึ้นอยู่กับปัจจัยของวัสดุที่มีอยู่ ได้แก่ วัสดุเศษพืช  มูลสัตว์ปุ๋ยไนโตรเจนหรือน้่าหมัก
                  จากปลา และสารเร่ง เป็นต้น

                         ซึ่งวิธีการกองปุ๋ยหมักสามารถเลือกปฏิบัติได้ตามความเหมาะสมได้ 4 วิธี คือ 1) การกองแบบใช้เศษ

                  พืชอย่างเดียว  2) การกองแบบใช้เศษพืชผสมมูลสัตว์  3) การกองแบบใช้เศษพืชผสมมูลสัตว์และปุ๋ย
                  ไนโตรเจน และ 4) การกองแบบใช้เศษพืชผสมมูลสัตว์ ปุ๋ยไนโตรเจนและสารเร่ง  (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพ

                  ทางดิน, 2551)  แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงการกองปุ๋ยหมักวิธีที่ 4 เพราะเป็นวิธีการกองปุ๋ยหมักแบบนี้น่าวัสดุมา

                  ผสมกันทั้งหมด  ซึ่งสามารถน่าไปประยุกต์วิธีการกองปุ๋ยแบบต่างๆได้ตามวัสดุที่มีอยู่
                         สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 หมายถึง กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายเศษวัสดุเหลือใช้

                  จากการเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  ที่มีองค์ประกอบของเซลลูโลส ไขมัน และ
                  ลิกนินที่ย่อยสลายยาก  เพื่อผลิตปุ๋ยหมักในเวลาที่รวดเร็วและมีคุณภาพ  เป็นจุลินทรีย์ที่ทนอุณหภูมิสูง

                  ซึ่งประกอบด้วยเชื้อจุลินทรีย์ 3   กลุ่ม ได้แก่ เชื้อราย่อยเซลลูโลส 4 สายพันธุ์ คือ Scytalidium
                  thermophilum,  Chaetomium  thermophilum,  Corynascus  verrucosus  และ Scopulariosis

                  breviaculis  แอคติโนไมซิสต์ย่อยเซลลูโลส คือ Streptomyces sp.  2 สายพันธุ์  และแบคทีเรียย่อยไขมัน

                  คือ Bacillus subtilis 2 สายพันธุ์ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2556ค)


                          5.1 ส่วนผสมของวัสดุในการกองปุ๋ยหมัก 1 ตัน  ประกอบด้วย
                                 1. เศษพืชแห้ง             จ่านวน  1,000  กิโลกรัม

                                 2. มูลสัตว์                  จ่านวน     200  กิโลกรัม

                                 3. ปุ๋ยไนโตรเจน (ยูเรีย)   จ่านวน        2  กิโลกรัม
                                     หรือน้่าหมักจากปลา  จ่านวน        9   ลิตร

                                 4. สารเร่งซุปเปอร์ พด.1  จ่านวน        1   ซอง

                         5.2 วิธีการกองปุ๋ยหมัก

                             กองปุ๋ยหมัก 1 ตัน มีขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร และสูง 1.5 เมตร มี 2 วิธี ตามขนาดของ
                  เศษพืช ดังนี้
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102