Page 149 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 149

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        138


                  ตารางที่ 7.14 อัตราและวิธีการใช้น้ําหมักสําหรับพืชชนิดต่างๆ

                         ชนิดพืช                   อัตราน้ําหมัก                        วิธีการใช้


                   ข้าว

                    แช่เมล็ดพันธุ์ข้าว    น้่าหมัก 20 มิลลิลิตรต่อ         แช่เมล็ดข้าวเป็นเวลา 12 ชั่วโมง
                                          น้่า 20 ลิตรต่อเมล็ดข้าว 20 กิโลกรัม   แล้วน่าขึ้นพักไว้ 1 วัน จึงน่าไปปลูก

                    ช่วงเตรียมดิน       น้่าหมัก 5 ลิตรต่อไร่              ฉีดพ่นหรือรดลงดินระหว่างเตรียม

                                                                              ดินหรือก่อนไถกลบตอซัง

                    ช่วงการเจริญเติบโต   น้่าหมัก 5 ลิตรต่อไร่ เมื่อข้าวอายุ 30,   เทลงในนาข้าว
                                          50 และ 60 วัน


                   พืชไร่
                    ช่วงการเจริญเติบโต   น้่าหมัก 1 ลิตร เจือจางด้วยน้่า 500    ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุก 10 วัน  ก่อน

                                          ลิตร ในพื้นที่ 5 ไร่                ออกดอกและช่วงติดฝน


                    แช่ท่อนพันธุ์อ้อย     น้่าหมัก 40 มิลลิลิตรต่อน้่า 20    แช่ท่อนพันธุ์อ้อยหรือมันส่าปะหลังเป็น
                     และมันส่าปะหลัง        ลิตร                            เวลา 12 ชั่วโมงจึงลงปลูก


                   พืชผักและไม้ดอก         น้่าหมัก 1 ลิตร  เจือจางด้วยน้่า    ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุก 10 วัน

                                            1,000 ลิตร  ในพื้นที่ 10 ไร่

                   ไม้ผล                   น้่าหมัก 1 ลิตร  เจือจางด้วยน้่า    ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุก 1 เดือนช่วง

                                            500 ลิตร  ในพื้นที่ 2 ไร่       ก่าลังเจริญเติบโต  ก่อนดอกและช่วง
                                                                            ติดผล


                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (2551)
                         2. ความมีเหตุผล หมายถึง ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการใช้น้่าหมัก  เพราะการผลิตน้่าหมัก

                  ให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เช่น การผลิตน้่าหมักจากปลา พบว่า มีปริมาณธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส มากกว่า หรือ

                  การผลิตน้่าหมักจากไข่ไก่ นมและถั่ว มีปริมาณกรดฮิวมิกและฮอร์โมนมาก (ออมทรัพย์และคณะ, 2547)  ท่า
                  ให้ลดค่าใช้จ่ายปุ๋ยได้มากขึ้น  การใช้น้่าหมักให้มีประสิทธิภาพสูงสุดไม่ควรใช้เกิน 3 เดือน (สุภาวดีและคณะ,

                  2556)  ภาชนะที่ใส่ไม่ควรเป็นโลหะ  เพราะน้่าหมักมีฤทธิ์เป็นกรดซึ่งจะกัดกร่อนโลหะได้  ท่าให้มีโลหะเจือ

                  ปนในน้่าหมักและอาจเป็นพิษต่อพืชได้  แต่ควรเป็นพลาสติกทึบแสงและเก็บไว้ในที่ร่มอุณหภูมิไม่เกิน 45 –
                  50 องศาเซลเซียส  พร้อมปิดฝาสนิทเพื่อป้องกันน้่าและอากาศเข้าไปเพราะจะท่าให้น้่าหมักเสื่อมสภาพได้

                  ก่อนใช้ควรเขย่าขวดทุกครั้ง  นอกจากนี้น้่าหมักมีความเข้มข้นของสารอินทรีย์สูง  ดังนั้นจึงจ่าเป็นต้องมีการ
                  เจือจางน้่าหมักทุกครั้งก่อนที่จะน่าไปใช้  เพราะน้่าหมักมีสภาพเป็นกรดจัดและยังมีค่าการน่าไฟฟ้าของ

                  สารละลายสูงด้วย  หากไม่มีการเจือจางจะมีผลกระทบท่าให้เกิดการชะงักการเจริญเติบโตของพืช  โดยเซลล์
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154