Page 26 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       21







                       หญ้าแฝกสามารถลดค่าบีโอดีได้ 80-85 เปอร์เซ็นต์ ลดค่าซีโอดีได้ 85-90 เปอร์เซ็นต์ และสามารถลด
                       จ านวนแบคทีเรีย E.coli ได้ถึง 85  เปอร์เซ็นต์  ซึ่งตัวชี้วัดคุณภาพน้ าที่ถูกบ าบัดทั้งหมดอยู่ภายใต้
                       มาตรฐานของ IS2292, 1992
                            ดารินทร์ (2551)  ศึกษาการปลูกหญ้าแฝกในน้ าทิ้งจากโรงนมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อ

                       ลดปัญหาจากน้ าเสีย โดยใช้หญ้าแฝก 3 พันธุ์ คือ พันธุ์ศรีลังกา พันธุ์สงขลา 3 และพันธุ์สุราษฎร์ธานี
                       ปลูกในลักษณะแพลอยน้ า และเก็บตัวอย่างวิเคราะห์ค่าคุณภาพน้ า ได้แก่ ไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสเฟต
                       ทั้งหมด ค่าการน าไฟฟ้า ของแข็งละลายน้ า ไนไตรต์ ไนเตรต บีโอดีดีโอ และของแข็งแขวนลอย
                       ทั้งหมด พบว่าหญ้าแฝกทั้ง  3 พันธุ์มีประสิทธิภาพในการบ าบัดน้ าทิ้งสูงสุดในสัปดาห์ที่ 14  ของ

                       การปลูก เมื่อพิจารณาค่าไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัสทั้งหมด บีโอดีและดีโอซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญ
                       ในการประเมินคุณภาพน้ าทิ้งจากโรงนม พบว่าหญ้าแฝกพันธุ์ศรีลังกามีประสิทธิภาพสูงสุดในการลด
                       ค่าบีโอดีได้ถึง 88 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่หญ้าแฝกพันธุ์สุราษฎร์ธานีมีประสิทธิภาพสูงสุดในการเพิ่มค่า
                       ดีโอถึง 91 เปอร์เซ็นต์ ลดค่าไนโตรเจนทั้งหมด 93 เปอร์เซ็นต์ และฟอสฟอรัสทั้งหมด 90 เปอร์เซ็นต์

                       ดังนั้นจึงควรเลือกใช้หญ้าแฝกแหล่งพันธุ์ศรีลังกาและแหล่งพันธุ์สุราษฎร์ธานีในการบ าบัดน้ าทิ้ง
                       ร่วมกัน เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการบ าบัดน้ าเสียได้ดีที่สุด
                            กนกพร (2549) ศึกษาประสิทธิภาพของหญ้าแฝกที่ปลูกด้วยเทคนิคแท่นลอยน้ าในการบ าบัด

                       น้ าเสียชุมชน โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 เพื่อคัดเลือกพันธุ์หญ้าแฝก 6 พันธุ์ คือ
                       ก าแพงเพชร 2 ศรีลังกา สงขลา 3 สุราษฏร์ธานี ประจวบคีรีขันธ์ และราชบุรี ในถังน้ าที่บรรจุน้ าเสีย
                       ชุมชนความเข้มข้นต่ า (ค่าเฉลี่ยบีโอดี ทีเคเอ็น และฟอสฟอรัสทั้งหมด 55.88  40.297  และ  6.022
                       มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ) นาน 8  สัปดาห์ ท าการคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมส าหรับใช้ในระบบ
                       จ าลองในระยะที่ 2  จากการทดลองระยะที่ 1  ผลการศึกษาพบว่า หญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3  และ

                       สุราษฏร์ธานี มีประสิทธิภาพการบ าบัดบีโอดี ฟอสฟอรัสทั้งหมด และฟอสเฟตทั้งหมดสูงเป็น
                       2 ล าดับแรก มีค่าอยู่ในช่วง 80.07-81.06  16.38-16.81 และ 10.39-12.87 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ
                       รวมทั้งมีการเจริญเติบโตและการสะสมธาตุอาหาร (ไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัสทั้งหมด) สูง

                       และน าแฝกทั้ง 2  กลุ่มพันธุ์มาศึกษาในระยะที่ 2  เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบ าบัดน้ าเสียชุมชน
                       ของหญ้าแฝกในระบบบ าบัดจ าลอง โดยปลูกหญ้าแฝกกลุ่มพันธุ์สงขลา 3 และสุราษฏร์ธานีในบ่อพีวีซี
                       ขนาด 0.85x1.55x0.50  เมตร โดยชุดควบคุมไม่ปลูกพืช ใช้น้ าเสียชุมชนความเข้มข้นต่ า (ค่าเฉลี่ย
                       บีโอดี ทีเคเอ็น และฟอสฟอรัสทั้งหมด 44.28-58.92  34.731-42.144  และ 4.838-5.482 มิลลิกรัม

                       ต่อลิตร ตามล าดับ) และความเข้มข้นสูง (ค่าเฉลี่ยบีโอดี ทีเคเอ็น และฟอสฟอรัสทั้งหมด 90.12-94.88
                       41.025-52.806    และ   5.892-6.657  มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ) แบ่งการทดลองเป็น 3 ช่วง
                       ช่วงละ 8 สัปดาห์ แต่ละช่วงใช้ระยะเวลากักเก็บ 75 และ 3 วัน ตามล าดับ และใช้การปล่อยน้ าเสีย
                       แบบต่อเนื่อง ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพบ าบัดน้ าเสียเมื่อใช้ระยะเวลากักเก็บและความเข้มข้น
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31