Page 25 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       20







                       ฟอสเฟต ลดลงในช่วง 45 วันแรกของการบ าบัด คิดเป็น 20-100 เปอร์เซ็นต์ และความสูงของหญ้าแฝก
                       เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามระยะเวลาที่ใช้ในการบ าบัด เช่นเดียวกับการเพิ่มขึ้นของมวลชีวภาพสด
                            Badejo et al. (2017) ศึกษาการบ าบัดน้ าเสียในเขตเทศบาลเมือง โดยใช้ระบบบ าบัดน้ าเสีย
                       แบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์ (Biological Nutrient Removal Activated Sludge ; BNRAS) และระบบ

                       บ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่ปลูกหญ้าแฝกเป็นพืชในชั้นกรอง  (Vegetated  Submerged  Bed
                       Constructed Wetlands ; VSBCW)  เพื่อตรวจสอบระบบต่อเนื่องที่ประกอบด้วยระบบบ าบัดน้ าเสีย
                       แบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์ (BNRAS)  และระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่ปลูกหญ้าแฝกเป็นพืช
                       ในชั้นกรอง  (VSBCW) ซึ่งการตรวจสอบระบบบ าบัดน้ าเสียในเขตเทศบาลเมือง โดยน าน้ าเสียที่ได้

                       จากน้ าทิ้งที่ผ่านระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์ (BNRAS)  ของทั้ง 3  บริเวณนี้
                       (anaerobic,  anoxic  และ  aerobic) จะถูกส่งมายังระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่ปลูกหญ้า
                       แฝกเป็นพืชในชั้นกรอง (VSBCW)  ซึ่งตัวถังบ าบัดจะมีขนาด 1,000  ลิตร มีความลึก 500  มิลลิเมตร
                       และบริเวณพื้นผิวมีหินแกรนิตเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 10-15 มิลลิเมตร เพื่อปลูกหญ้าแฝกภายในถัง

                       บ าบัด การวิเคราะห์น้ าทิ้งที่ได้จากระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่ปลูกหญ้าแฝกเป็นพืชใน
                       ชั้นกรอง (VSBCW)  ท าได้โดยการเก็บตัวอย่างน้ ามาวิเคราะห์ค่าต่างๆ ตามวิธีการมาตรฐาน ผลจาก
                       การศึกษาพบว่าประสิทธิภาพของน้ าทั้งบริเวณ 3 นี้ (anaerobic, anoxic และ aerobic) ที่ผ่านการ

                       บ าบัดหรือการก าจัดของเสียในรูปซีโอดี (Chemical Oxygen Demand ; COD) ร้อยละ 96.6 96.3
                       และ 97.21  ซัลเฟตร้อยละ 53.51  46.45  และ 88.78  ของแข็งแขวนลอยทั้งหมดร้อยละ 98.34
                       99.72  และ 99.60  ตามล าดับ จะเห็นได้ว่าประสิทธิในการบ าบัดน้ าทิ้งจากบริเวณที่ไม่ใช้ออกซิเจน
                       (anaerobic)  นั้นมีประสิทธิภาพสูงสุดในช่วงระยะเวลาที่ท าการศึกษา และยังพบอีกว่าการบ าบัด
                       น้ าเสียในเขตเทศบาลเมืองที่มีการใช้ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่มีการปลูกหญ้าแฝก

                       ในชั้นรองใต้น้ า (VSBCW) ร่วมกับระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์  (BNRAS) นั้นมี
                       ประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์ (BNRAS) เพียงอย่างเดียว
                            Mathew  et  al.  (2016)  มีความสนใจในความสามารถพิเศษของหญ้าแฝก ซึ่งเป็นพืช

                       ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายสภาวะที่มีความเครียดสูง เช่น สภาวะที่มีความเค็มจัด เป็นกรด
                       เป็นด่าง และ/หรือสภาวะที่มีโลหะ ซึ่งในโรงแรมชั้นน าจะมีห้องพักมากกว่า 800 ห้อง ส่งผลให้
                       ปริมาณน้ าเสียที่ต้องการบ าบัดเป็นจ านวนมากต่อวัน โดยเฉพาะน้ าเสียที่มาจากห้องครัวจะถูกปล่อย
                       ออกมามากที่สุด โดยงานวิจัยนี้ได้จ าลองระบบน้ าเสียที่ปล่อยออกมาจากห้องครัวปริมาณ 300 ลิตร

                       โดยแบ่งออกเป็นบ่อบ าบัด 5 บ่อ ซึ่งบรรจุดินเอาไว้และท าการปลูกหญ้าแฝกไว้ภายในท่อ โดยเชื่อมต่อ
                       กันแต่ละบ่อ โดยปลูกหญ้าแฝกให้มีความหนาแน่นต่างกัน ปล่อยน้ าทิ้งลงกักในบ่อที่ 1 ก่อนจากนั้น
                       จึงปล่อยผ่านไปบ่อที่ 2 3 4 และ 5 ตามล าดับ และท าการวัดคุณภาพน้ าในบ่อที่ 5 เพื่อบันทึกข้อมูล
                       ส าหรับวิเคราะห์การบ าบัดน้ าเสียโดยใช้หญ้าแฝก จากการทดลองพบว่า ระบบบ าบัดน้ าเสียด้วย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30