Page 21 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       16







                                      3) ซีโอดี (COD) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนทั้งหมดที่ต้องการใช้เพื่อออกซิเดชัน
                       สารอินทรีย์ในน้ า ด้วยสารเคมีซึ่งมีอ านาจในการออกซิไดส์สูงในสารละลายที่เป็นกรดให้เป็นก๊าซ
                       คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ า ค่าซีโอดีมีความส าคัญในการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้ง การควบคุมระบบ
                       บ าบัดน้ าทิ้ง การควบคุมระบบบ าบัดน้ าเสีย ค่า COD มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร

                                      4) ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) มีความส าคัญในการควบคุมคุณภาพน้ าและน้ าเสีย
                       ให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เพื่อไม่ให้เกิดการกัดกร่อนของท่อ เพื่อใช้ในการควบคุม
                       สารเคมีที่ใช้บ าบัดน้ าเสียให้ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปน้ ามีค่า pH อยู่ในช่วง 5-8 เป็น
                       ค่าที่แสดงปริมาณความเข้มข้นของอนุภาคไฮโดรเจนในน้ า

                                      5) ไนโตรเจน เป็นธาตุที่มีความส าคัญในการสังเคราะห์โปรตีน ท าให้พืชน้ ามีการ
                       เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว
                                      6) สารโลหะหนักชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของอุตสาหกรรม สารโลหะหนักยอมให้
                       มีในน้ าได้ในปริมาณที่น้อยมาก เนื่องจากบางชนิดให้ความเป็นพิษสูง แต่บางชนิดหากที่ปริมาณไม่มาก

                       นักจะมีผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในน้ า
                                   2.2.3 ลักษณะของเสียทางชีวภาพ เช่น
                                      1) แบคทีเรีย คือ จุลินทรีย์เซลล์เดียวมีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

                       เป็นผู้ย่อยสลายในแหล่งน้ า
                                      2) รา เป็นจุลินทรีย์ที่มีหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟีลล์ รามีความส าคัญในการย่อย
                       สลายพวกคาร์บอนที่มีค่า pH  ต่ า รามีบทบาทส าคัญในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบบ าบัดน้ าเสีย
                       บางระบบ

                               2.3  แหล่งก าเนิดน้ าเสีย

                                   2.3.1 น้ าเสียจากชุมชน  (domestic  wastewaters) หมายถึง น้ าที่เกิดจากการใช้
                       ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ และระบายน้ าทิ้งลงสู่ท่อระบายน้ า แหล่งรองรับน้ าเสีย หรือแหล่งน้ า
                       ธรรมชาติ โดยไม่ได้ผ่านการบ าบัดมาก่อน ได้แก่ บ้านพักอาศัย ภัตตาคาร โรงแรม สถานที่ท างาน
                       ย่านการค้า ตลาด เป็นต้น องค์ประกอบของน้ าเสียชุมชน เช่น ของแข็งทั้งหมด ของแข็งแขวนลอย
                       ของแข็งจมตัวได้ บีโอดี ซีโอดี ไนโตรเจนในรูปสารอินทรีย์ไนโตรเจน และแอมโมเนีย สารฟอสฟอรัส

                       ในรูปของสารอินทรีย์และฟอสเฟต น้ ามันและไขมัน โคลีฟอร์มทั้งหมด และฟีคัลโคลีฟอร์ม
                                   2.3.2 น้ าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม (industrial  wastewater)  ได้แก่ น้ าเสียจาก
                       กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม น้ าเสียจากการล้างเครื่องจักร การล้างสถานประกอบการ

                                   2.3.3 น้ าเสียจากการเกษตรกรรม (agriculture  wastewaters) ได้แก่ น้ าจากการ
                       เพาะปลูก น้ าทิ้งจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ น้ าจากบ่อกุ้งและบ่อปลา เป็นน้ าทิ้งที่ปนเปื้อนด้วยสารเคมี
                       ทางการเกษตร ปุ๋ยรูปแบบต่างๆ เป็นต้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26