Page 23 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       18







                                   2.5.1 การบ าบัดทางกายภาพเป็นวิธีการแยกเอาสิ่งเจือปนออกจากน้ าเสีย เช่น
                       ของแข็งขนาดใหญ่กระดาษพลาสติก เศษอาหาร ไขมัน น้ ามัน โดยใช้อุปกรณ์บ าบัดทางกายภาพ คือ
                       ตะแกรงดักขยะถังดักกรวดทราย ถังดักไขมันและน้ ามัน และถังตกตะกอน ซึ่งเป็นการลดปริมาณ
                       ของแข็งทั้งหมดที่มีในน้ าเสียเป็นหลัก

                                   2.5.2 การบ าบัดทางเคมี เป็นวิธีการบ าบัดน้ าเสียโดยใช้กระบวนการทางเคมี เพื่อท า
                       ปฏิกิริยากับสิ่งเจือปนในน้ าเสียวิธีการนี้จะใช้ส าหรับน้ าเสียที่มีส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ง
                       ดังต่อไปนี้ คือ ค่าพีเอชสูงหรือต่ าเกินไป มีสารพิษมีโลหะหนัก มีของแข็งแขวนลอยที่ตกตะกอนยาก มี
                       ไขมันและน้ ามันที่ละลายน้ า มีไนโตรเจนหรือฟอสฟอรัสที่สูงเกินไป และมีเชื้อโรค ทั้งนี้อุปกรณ์ที่ใช้

                       ในการบ าบัดน้ าเสียด้วยวิธีทางเคมี ได้แก่ ถังกวนเร็ว ถังกวนช้า ถังตกตะกอน ถังกรองและฆ่าเชื้อโรค
                                   2.5.3 การบ าบัดทางชีวภาพ เป็นวิธีการบ าบัดโดยใช้วิธีการทางชีวภาพหรือจุลินทรีย์
                       ในการก าจัดสิ่งเจือปนในน้ าเสียโดยเฉพาะสารคาร์บอนอินทรีย์ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส โดยสาร
                       เหล่านี้ถูกใช้เป็นอาหารและเป็นแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ถังเลี้ยงเชื้อเพื่อการเจริญเติบโตท าให้

                       น้ าเสียมีค่าความสกปรกลดลง ซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้เป็นแบบใช้ออกซิเจนหรือไม่ใช้ออกซิเจนก็ได้

                               2.6  ระบบพืชและหญ้ากรองน้ าเสีย (Plant and Grass Filtration)
                               ระบบพืชและหญ้ากรองน้ าเสีย เป็นระบบที่ให้พืชช่วยดูดซับธาตุอาหารจากการย่อยสลาย
                       สารอินทรีย์เป็นสารอนินทรีย์ที่พืชต้องการของจุลินทรีย์ในดิน การปลดปล่อยออกซิเจน
                       จากกระบวนการสังเคราะห์แสงจากระบบราก สาหร่าย และแพลงค์ตอน ส าหรับพืชและหญ้าที่ใช้

                       ในการบ าบัดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ หญ้าอาหารสัตว์ ได้แก่ หญ้าคาล์ลา หญ้าโคสครอส และหญ้าสตาร์
                       พืชทั่วไป ได้แก่ ธูปฤาษี กกกลม (กกจันทบูร) และหญ้าแฝกพันธุ์อินโดนีเซีย เมื่อครบระยะเวลา 45  วัน
                       (ยกเว้นธูปฤาษี 90 วัน) จะตัดพืชและหญ้าเหล่านั้นออก เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ ซึ่ง

                       หญ้าเหล่านี้น าไปใช้ในการเลี้ยงสัตว์ได้ เนื่องจากการปนเปื้อนของมลสารไม่เกินมาตรฐานส าหรับสัตว์
                       ส่วนพืชทั่วไปน าไปใช้ในการจักสานได้เป็นอย่างดี โดยมีหลักการให้พืชกึ่งบกกึ่งน้ า คือ รากอยู่ในน้ า
                       ล าต้นอยู่บนบก เช่น ธูปฤาษี กกกลม เป็นต้น รวมถึงพืชหญ้าต่างๆ ที่เป็นอาหารสัตว์และหญ้าทั่วไป
                       ด้วยการดึงออกซิเจน (O) ผ่านใบพืชสู่ล าต้นและดินรากเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์บริเวณรอบๆ
                                         2
                       รากพืช โดยให้ดินเป็นตัวกรองของเสียและจุลินทรีย์ในดินท าหน้าที่ย่อยของเสียซึ่งของเสียที่ย่อยแล้ว

                       พืชจะดูดเอาไปเป็นอาหารเจริญเติบโตต่อไป ท าให้ของเสียเปลี่ยนเป็นมวลชีวภาพ น้ าจะมีคุณภาพดี
                       และสามารถระบายสู่แหล่งน้ าธรรมชาติได้ แต่การบ าบัดน้ าเสียด้วยระบบพืชต้องมีคนคอยดูแล
                       สม่ าเสมอ โดยเฉพาะการตัดเกี่ยวหญ้า และใช้พื้นที่มาก และมีระยะทางในการไหลจนน้ าเสียเป็นน้ าดี

                       ปล่อยสู่ธรรมชาติได้ ต้องคอยปรับแต่งความลาดเทให้ได้ขนาด 1: 1,000 ในก าหนดเวลา และพักบ่อ
                       อีกเป็นระยะหนึ่ง (ส านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
                       พระราชด าริ, ม.ป.ป.)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28