Page 22 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       17







                               2.4  ผลกระทบจากน้ าเสีย
                               ปัจจุบันจะพบแหล่งน้ าที่เน่าสกปรกอยู่ทั่วไป น้ าในลักษณะเช่นนี้ไม่สามารถน ามาใช้อุปโภค
                       และบริโภคได้ ทั้งก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นอันตรายและความเสียหายอย่างมหาศาลต่อการประมง
                       การเกษตร การสาธารณสุข ประการส าคัญคือ ท าให้ระบบนิเวศธรรมชาติถูกท าลาย หรือเสื่อม

                       คุณภาพจนไม่เหมาะที่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้ ท าให้เกิดการตายของสัตว์และพืชน้ าเป็นจ านวนมาก
                       ท าให้แหล่งน้ าเกิดการเน่าและขาดออกซิเจนที่ละลายน้ า แหล่งน้ าที่มีสารพิษพวกยาฆ่าแมลง และ
                       สารปราบศัตรูพืชสะสมอยู่มาก รวมทั้งแหล่งน้ าที่มีคราบน้ ามันปกคลุม และ โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
                       ที่ปล่อยสารพิษ และความร้อนลงสู่แหล่งน้ า ดังนั้นจึงสามารถสรุปผลกระทบจากน้ าเสียด้านต่างๆ

                       ได้ดังนี้ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2557)
                                   2.4.1 ด้านสาธารณสุข เชื้อโรคหลายชนิดที่สามารถแพร่กระจายทางน้ าได้ เช่น
                       อหิวาตกโรค บิดไทฟอยด์ ฯลฯ นอกจากนี้โลหะหนักท าให้เกิดโรค เช่น สารปรอทท าให้เกิดโรคมินามาตะ
                       และแคดเมียมท าให้เกิดโรคอิไต-อิไต

                                   2.4.2 ด้านอุปโภคและบริโภค กลิ่นของน้ าที่เน่าเสียจะเปลี่ยนไปเนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์
                       ในน้ าจะย่อยสลายสารอินทรีย์ท าให้ได้ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่มีกลิ่นเหม็นมากและสารอื่นๆ รสของน้ า
                       เปลี่ยนไปเพราะน้ าได้รับสารเคมีกรด-เบส เกลือจากโรงงานอุตสาหกรรมจากอาคารบ้านเรือน เมื่อ

                       น ามาใช้จะเกิดอันตรายเป็นผลให้ขาดแหล่งน้ าดิบในการท าน้ าประปา คุณภาพน้ าลดลงท าให้ค่าใช้จ่าย
                       ในขบวนการผลิตสูงขึ้น เพื่อให้ได้คุณภาพน้ าเข้าเกณฑ์มาตรฐานน้ าดื่ม
                                   2.4.3 ด้านการเกษตร น้ าเสียที่มีความเป็นกรดเป็นด่างสูงหรือมีสารพิษไม่เหมาะ
                       ส าหรับการน ามาเลี้ยงสัตว์หรือเพาะปลูก
                                   2.4.4 ด้านการประมง น้ าเสียจะท าให้ปริมาณก๊าซออกซิเจนในน้ าลดลง และยังมี

                       สารพิษที่ท าให้พืชน้ าและสัตว์น้ าไม่สามารถอาศัยอยู่ได้
                                   2.4.5 ท าลายระบบนิเวศในแหล่งน้ าระบบนิเวศจะเสียสมดุล เนื่องจากสัตว์ และพืชน้ า
                       ได้รับผลกระทบ

                                   2.4.6 ด้านทัศนียภาพสภาพของแหล่งน้ าที่เน่าเหม็นและมีสีด า ท าให้ความสวยงาม
                       ลดลงและกระทบถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในแหล่งสถานที่ท่องเที่ยว (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
                       2557)

                               2.5  การบ าบัดน้ าเสีย
                               การเลือกบ าบัดน้ าเสียขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะของน้ าเสีย ระดับการบ าบัดน้ าเสีย

                       ที่ต้องการ สภาพทั่วไปของท้องถิ่น ค่าลงทุนในการก่อสร้าง ค่าด าเนินการดูแลรักษาและขนาดของ
                       ที่ดินที่ใช้ในการก่อสร้าง เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ระบบบ าบัดน้ าเสียที่เลือกมีความเหมาะสมกับแต่ละ
                       ท้องถิ่น ซึ่งมีสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน โดยการบ าบัดน้ าเสียแบ่งได้ดังนี้ (กรมควบคุมมลพิษ, 2545)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27