Page 45 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        35







                                       3.7) การหยอดปุ๋ยที่ซอกใบรอบโคนต้น เช่น การให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารไนโตรเจนกับ
                       สับปะรดที่ต าแหน่งซอกใบซึ่งมีลักษณะเป็นกระเปาะ เนื้อเยื่อผิวใบค่อนข้างบางสามารถดูดซึมปุ๋ยเข้า
                       ไปได้ง่าย
                                   4) ควรให้ปุ๋ยตรงตามความต้องการของพืชทั้งช่วงเวลาและปริมาณที่พืชต้องการ ดังนี้

                                       4.1 ใส่ก่อนปลูกโดยการใส่ปุ๋ยรองพื้น เช่น การหว่านปุ๋ยให้ทั่วพื้นที่แล้วไถคลุกเคล้า
                       กับดินหรือใส่พร้อมหยอดเมล็ด เช่น การโรยก้นร่อง หากเป็นไม้ยืนต้น เช่น ยางพารา ไม้ผลก็คือการใส่
                       ปุ๋ยรองก้นหลุม
                                       4.2) ใส่ระยะที่พืชเจริญเติบโตรวดเร็ว เป็นระยะที่เร่งการสร้าง ใบ ต้น กิ่ง แขนง

                                   5) ใส่ก่อนระยะออกดอก เพื่อให้พืชน าธาตุอาหารไปใช้ในการสร้างดอก ผล และเมล็ด
                       ได้อย่างสมบูรณ์
                                   6) ใส่เมื่อพืชแสดงอาการขาดธาตุอาหารใดๆ เมื่อปรากฏชัดเจนว่าพืชขาดธาตุอาหารก็
                       รีบใส่ปุ๋ยที่ขาดนั้นลงไป ในดินหรือฉีดพ่นให้ทางใบ

                                   7) การใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อให้ธาตุอาหารแก่พืชหรือเพื่อการปรับปรุงคุณสมบัติต่างๆ ของ
                       ดินก็ตาม ควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ย่อยสลายสมบูรณ์แล้ว
                              3.6.3 การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (รสมาริน, 2552)

                                   การใช้ปุ๋ยเคมีจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น  หากผู้ใช้สามารถเรียนรู้และท าความเข้าใจถึง
                       ปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนสัมพันธ์ต่อการใช้ปุ๋ยเคมีในการเพิ่มผลผลิตพืช โดยปัจจัยส าคัญที่ต้องค านึงถึง (แต่
                       มักถูกละเลย)  คือ การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน  โดยทั่วไปเกษตรกรมักใช้วิธีสังเกตการ
                       เจริญเติบโตของพืช หากเห็นว่าแคระแกร็น ใบสีเหลืองซีด แสดงอาการขาดธาตุอาหาร ก็จะท าการใส่
                       ปุ๋ยเพิ่มในบริเวณนั้น  ซึ่งเป็นการวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น  แต่ในปัจจุบัน

                       การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินสามารถท าได้ละเอียด  และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น  ท าให้เกษตรกร
                       สามารถน าค่าวิเคราะห์ดินที่ได้ไปประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และน าไปเลือกใช้ชนิดหรือ
                       อัตราของปุ๋ยเคมีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยพิจารณาจากปริมาณความต้องการธาตุอาหาร

                       ของพืชแต่ละชนิด และธาตุอาหารที่มีอยู่ในดิน หากดินมีธาตุอาหารชนิดใดอยู่มาก ก็ใส่ธาตุอาหารชนิด
                       นั้นน้อย
                                   ดินในประเทศไทยมีมากกว่า 200 แต่ละชุดดินมีศักยภาพแตกต่างกัน ในการจ าแนกชุด
                       ดินใช้สมบัติของดินที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก เช่น เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน และความเป็นกรดเป็น

                       ด่าง สิ่งเหล่านี้เป็นสมบัติของชุดดินที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก ซึ่งแตกต่างจากความอุดมสมบูรณ์ของดินที่
                       ผันแปรไปตามการใช้ประโยชน์ที่ดินและวิธีการจัดการไร่นาของเกษตรกร แนวคิดในการใช้ปุ๋ยเคมีตาม
                       ค่าวิเคราะห์ดินนั้นจึงเกิดจากการน าข้อมูลชุดดิน และข้อมูลวิเคราะห์ N-P-K ในดินตามสภาพปัจจุบัน
                       มาประกอบการตัดสินใจใช้ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โปรแกรมจัดการธาตุอาหารพืชตามค่า

                       วิเคราะห์ดินนั้น  เป็นการสร้างแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์  เพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่มี
                       ส่วนสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช เช่น พันธุ์พืช แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้น
                       ปริมาณน้ าฝน  ชุดดิน  ฯลฯ  เพื่อช่วยค านวณหาปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีความสอดคล้องกับความ
                       ต้องการของพืชมากขึ้น อย่างไรก็ตามความถูกต้องและแม่นย าของการวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละ

                       โปรแกรมนั้นจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของแบบจ าลอง การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ อย่างแม่นย า และมี
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50