Page 49 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        39







                       ยางพารา ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยแล้ง ต าบลท่าข้าม อ าเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
                       พบว่า พืชที่ปลูกทั้งสองอย่างไม่มีผลต่อเคลื่อนย้ายของตะกอนดินในทางสถิติ แต่ความลาดชันของ
                       พื้นที่มีแนวโน้มสัมพันธ์กับเคลื่อนย้ายของตะกอนดินทั้งสองแปลง
                                   วรรณา และคณะ (2559) ได้ศึกษาการเจริญเติบโตของหญ้าแฝกบางสายพันธุ์บนคัน

                       นาปรับแต่งในพื้นที่ดินเค็ม ในพื้นที่ต าบลอีง่อง อ าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า หญ้า
                       แฝกสายพันธุ์ร้อยเอ็ด ก าแพงเพชร 1  สงขลา 3  พื้นบ้านร้อยเอ็ด1  และพื้นบ้านร้อยเอ็ด 2  ทุกสาย
                       พันธุ์สามารถเจริญเติบโตได้ดีพื้นที่ดินเค็ม โดยที่สายพันธุ์ร้อยเอ็ดเจริญเติบโตได้ดีที่สุด นอกจากนี้การ
                       ปลูกหญ้าแฝกในทุกต ารับการทดลองส่งผลท าให้ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม

                       แคลเซียม แมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโซเดียมที่สกัดได้มีค่าสูงขึ้นในทุกการทดลอง
                                   ภรภัทร และคณะ (2559) ได้ทดลองเชิงสาธิตและการยอมรับการใช้หญ้าแฝกและพืช
                       อนุรักษ์ร่วมกับข้าวโพดแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมในเขตพัฒนา
                       ที่ดินลุ่มน้ ากึ้น ต าบลบ่อแก้ว อ าเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน พบว่า วิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับ

                       แถบหญ้าแฝก และวิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับแถบหญ้าแฝกร่วมกับปลูกถั่วพุ่มด าเหลื่อมฤดู
                       ท าให้ความหนาแน่นรวมของดินลดลงจาก 1.30 เป็น 1.22 และจาก 1.35 เป็น 1.20 กรัมต่อลูกบาศก์
                       เซนติเมตร ส่วนวิธีที่ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ าท าให้ความหนาแน่นรวมของดินเพิ่มขึ้น นอกจากนี้

                       วิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับแถบหญ้าแฝกยังสามารถป้องกันการสูญเสียดินได้เป็นอย่างดี โดย
                       เฉลี่ย 3  ปีวิธีการดังกล่าวมีปริมาณการสูญเสียดินต่ าสุด 456.02  กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่วิธีที่ไม่มี
                       ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าปริมาณการสูญเสียดินสูงสุด 680.11  กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้เกษตรกร
                       ยอมรับวิธีการที่มีคันคูรับน้ าขอบเขาร่วมกับแถบหญ้าแฝกร่วมกับปลูกถั่วพุ่มด าเหลื่อมฤดูในแปลง
                       ข้าวโพดทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตข้าวโพดมีแนวโน้มสูงขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายถั่วพุ่มด า

                                   กมลทิพย์ และคณะ (2559) ได้ศึกษาระบบการปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าที่
                       เหมาะสมในชุดดินปราณบุรีเพื่อการผลิตสับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า การปลูกหญ้าแฝก
                       สายพันธุ์สงขลา 3 จ านวน 3 แถบ แถบละ 2 เมตร เว้นระยะห่างระหว่างแถบ 1 เมตร มีปริมาณการ

                       สูญเสียดินต่ าสุด 490.64  กิโลกรัมต่อไร่  ส่วนวิธีเกษตรกร (ไถพรวนตามความลาดเท) มีปริมาณการ
                       สูญเสียดินสูงสุด 766.80  กิโลกรัมต่อไร่ และพบว่า สับปะรดที่ปลูกร่วมกับแถบหญ้าแฝกให้ผลผลิต
                       สูงสุดเท่ากับ 13,197  กิโลกรัมต่อไร่  ส่วนวิธีการปลูกถั่วมะแฮะแถบกว้าง 60  เซนติเมตร ให้ผลผลิต
                       ต่ าสุดเท่ากับ 8,863 กิโลกรัมต่อไร่

                              3.7.2 ด้านการปรับปรุงบ ารุงดิน
                                   จันจิรา และคณะ (2556)  ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ของกรม
                       พัฒนาที่ดินในการผลิตผักบุ้งจีน ในต าบลสิงหนาท อ าเภอลาดบัวหลวง จังหวัดอยุธยา พบว่า การใช้
                       ผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน ได้แก่ สารเร่ง พด. 2 3 7 และ 12 ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา 75 เปอร์เซ็นต์

                       ของวิธีเกษตรกร มีผลท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และผลผลิตสูง
                       กว่าแปลงควบคุม (ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีตามวิธีการของเกษตรกร) แม้ว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ พด. จะท า
                       ให้ต้นทุนจะสูงกว่าแปลงควบคุม แต่ท าให้เกษตรกรมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 4.89 เปอร์เซ็นต์
                                   ชวพล และคณะ (2556) ได้ศึกษาการใช้น้ าหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 และปุ๋ยอินทรีย์

                       คุณภาพสูงในการป้องกันอาการเปลือกแห้งของยางพาราและเพิ่มผลผลิตน้ ายาง ในต าบลเขาย่า
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54