Page 25 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 25
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
1.4) พื้นที่สวนผักและไม้ดอกไม้ประดับจ านวน 12,452 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1 ของ
พื้นที่การเกษตร
1.5) พื้นที่การเกษตรอื่นๆ จ านวน 86,374 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.91 ของพื้นที่
การเกษตร
2) พื้นที่นอกภาคการเกษตรจ านวน 909,961 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.57 ของพื้นที่
ทั้งหมด
3) พื้นที่ป่าไม้ 2,740,786 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.94 ของพื้นที่ทั้งหมด
3.1.3 ทรัพยากรดิน ศักยภาพของดินในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถแบ่งตามความ
เหมาะสม ได้ดังนี้
1) พื้นที่ที่เหมาะสมในการท านา แบ่งเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมมาก ได้แก่ พื้นที่อ าเภอ
ตรอน และบางส่วนของอ าเภอพิชัย ส่วนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง ได้แก่ พื้นที่บางส่วนของ
อ าเภอลับแล
2) พื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกพืชไร่ ได้แก่ พื้นที่อ าเภอพิชัย และบางส่วนของอ าเภอ
เมือง
3) พื้นที่ไม่เหมาะส าหรับปลูกพืชไร่ทั่วไป แต่เหมาะสมส าหรับเป็นพื้นที่ส าหรับเป็นทุ่ง
หญ้าเลี้ยงสัตว์หรือปลูกป่า ได้แก่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของอ าเภอบ้านโคก อ าเภอฟากท่า อ าเภอน้ าปาด
และบางส่วนของอ าเภอเมือง และอ าเภอลับแล (ส านักงานจังหวัดอุตรดิตถ์, ม.ป.ป.)
สรุปได้ว่า ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ ประกอบด้วย พื้นที่ดอนและ
พื้นที่สูง มีเนื้อที่ประมาณ 3,803,887 ไร่ หรือร้อยละ 77.64 แบ่งเป็นพื้นที่ดอนที่มีความลาดชัน 2-35
เปอร์เซ็นต์ ซึ่งใช้ปลูกพืชไร่และไม้ผล มีเนื้อที่ประมาณ 1,077,860 ไร่ หรือร้อยละ 22.00 และที่สูงชัน
ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม และบางแห่งถูกบุกรุกเพื่อท า
การเกษตร มีเนื้อที่ประมาณ 2,726,027 ไร่ หรือร้อยละ 55.64 จากสภาพภูมิประเทศที่มีความลาด
ชันสูง ประกอบกับปริมาณฝนที่ตกชุกในแต่ละปี และมีการใช้ทรัพยากรดินและป่าไม้ที่ไม่ถูกต้องและ
เหมาะสม ล้วนแต่เอื้ออ านวยให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินอย่างกว้างขวางและรุนแรง ผลกระทบ
ของการชะล้างพังทลายของดิน นอกจากจะท าให้ดินเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ผลผลิตพืชลดลง
เนื่องจากการสูญเสียหน้าดินและธาตุอาหารพืชแล้ว ตะกอนดินที่ถูกชะล้างลงสู่ที่ต่ าจะไปทับถมใน
พื้นที่ตอนล่าง ท าให้แม่น้ าล าคลอง อ่างเก็บน้ า และเขื่อนต่างๆ ตื้นเขิน และเป็นผลต่อเนื่องไปถึงการ
เกิดภาวะแห้งแล้ง น้ าท่วมฉับพลัน และปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกด้วย
จากการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า ดินมีระดับ
ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าประมาณ 1,481,829 ไร่ หรือร้อยละ 30.25 เนื่องจากมีการใช้
ประโยชน์ที่ดินเป็นระยะเวลายาวนาน โดยขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน ประกอบกับพื้นที่ส่วนใหญ่มี
ความลาดชันสูง ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินอย่างกว้างขวาง ความอุดมสมบูรณ์และดินจึง
เสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ จังหวัดอุตรดิตถ์มีป่าไม้ ประกอบด้วย ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ และป่าแดง ไม้มี
ค่าทางเศรษฐกิจที่พบมาก คือ ไม้สัก และไม้เบญจพรรณ เนื้อที่ป่าไม้ภายในจังหวัดมีแนวโน้มลดลง
โดยตลอด จากการส ารวจของกรมป่าไม้ โดยการแปลภาพถ่ายดาวเทียม (Landsat) เมื่อ พ.ศ. 2516
มีเนื้อที่ป่าไม้รวม 5,704 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 72.77 ของพื้นที่จังหวัด ต่อมาเมื่อ พ.ศ.