Page 26 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        16







                       2521 เนื้อที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 3,768 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 48.07 ของพื้นที่จังหวัด และเมื่อ
                       พ.ศ. 2528 เนื้อที่ป่าไม้เหลือเพียง 3,271 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 41.73 ของพื้นที่จังหวัด
                       และปัจจุบันเหลือเนื้อที่ป่าไม้เพียง 3,136 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 40.01 ของพื้นที่จังหวัด
                       ส าหรับพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ประกอบด้วย

                                  - ป่าสงวนแห่งชาติ 15 แห่ง มีเนื้อที่รวม 3,300,044.75 ไร่ หรือ 5,280.072 ตาราง
                       กิโลเมตร ปัจจุบันถูกบุกรุกท าลายอย่างมาก เพื่อท าการเกษตรและน าไม้มาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะป่า
                       สงวนแห่งชาติในเขตอ าเภอพิชัย อ าเภอตรอน อ าเภอท่าปลา อ าเภอบ้านโคก อ าเภอน้ าปาด อ าเภอ
                       ทองแสนขัน และอ าเภอเมือง

                                  - วนอุทยาน 1 แห่ง คือ วนอุทยานสักใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตบ้านปางเกลือ ต าบลน้ าไคร้
                       อ าเภอน้ าปาด มีเนื้อที่ประมาณ 1,250 ไร่ เป็นวนอุทยานที่มีป่าไม้เบญจพรรณนานาชนิด เช่น ไม้สัก
                       ไม้แดง ไม้มะค่า ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้ประดู่ และที่ส าคัญ คือ มีต้นสักใหญ่ที่สุดในโลก ความสูง 47 เมตร
                       ความกว้างรอบต้น 9.58 เมตร มีอายุประมาณ 1,000 ปี วนอุทยานแหล่งนี้ประกาศจัดตั้งในราชกิจจา

                       นุเบกษา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2512
                                  - เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 1 แห่ง คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเมี่ยงและภูทอง ตั้งอยู่ใน
                       พื้นที่ต าบลน้ าไผ่ อ าเภอน้ าปาด และต าบลบ้านดง อ าเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก มีเนื้อที่ 340,625

                       ไร่ มีสัตว์ป่าหลายชนิดอาศัยอยู่ชุกชุม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เลียงผา และกระทิง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวน
                       และสัตว์ป่าคุ้มครองที่หาได้ยาก เป็นพื้นที่แหล่งน้ าและอาหารส าหรับสัตว์ป่าสมบูรณ์ พื้นที่บริเวณนี้
                       ถูกก าหนดให้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2520
                                  - เขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง คือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม ใน
                       ต าบลป่าคาย ผักขวง บ่อทอง อ าเภอทองแสนขัน มีเนื้อที่ 15,000 ไร่ ลักษณะทั่วไปเป็นภูเขาสูงปาน

                       กลาง อยู่สูงกว่าระดับน้ าทะเล ประมาณ 200 เมตร ปกคลุมด้วยป่าเบญจพรรณ และมีแหล่งแร่ควอต
                       ไซท์ บริเวณนี้มีถ้ าและค้างคาวอยู่เป็นจ านวนมาก เช่น ถ้ าพระ ถ้ าใหญ่ ถ้ ากบ และถ้ าแอบ ค้างคาวที่
                       อาศัยอยู่เป็นค้างคาวกินแมลง 2 ชนิด คือ ค้างคาวหางหนูปากย่น และค้างคาวหน้ายักษ์ ปัจจุบันมี

                       ปริมาณลดลง เนื่องจากสภาพป่าโดยรอบถูกท าลายไปมาก และมีเอกชนได้รับสัมปทานท าเหมืองแร่
                       หินอ่อนเข้าไปท ากิจการ ซึ่งมีส่วนท าลายแหล่งที่อยู่อาศัยของค้างคาว

                       3.2 ข้อมูลสภาพพื้นที่สูง

                               ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ.2548 ให้
                       ความหมายของพื้นที่สูงว่า “พื้นที่ที่เป็นภูเขา หรือพื้นที่ที่มีความสูงกว่าระดับน้ าทะเลห้าร้อยเมตรขึ้น
                       ไป หรือพื้นที่ที่อยู่ระหว่างพื้นที่สูงตามที่คณะกรรมการก าหนด” กระจายอยู่ในพื้นที่ 20 จังหวัด ได้แก่
                       เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ล าพูน แพร่ น่าน ล าปาง ตาก เพชรบูรณ์ พิษณุโลก เลย

                       สุโขทัย ก าแพงเพชร กาญจนบุรี อุทัยธานี สุพรรณบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และเพชรบุรี พื้นที่ตั้ง
                       ชุมชนบนที่สูงส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าต้นน้ าล าธาร ประมาณร้อยละ 88 ของหมู่บ้านมีการคมนาคม
                       ยากล าบาก ท าให้หน่วยงานของรัฐเข้าไปด าเนินงานบนพื้นที่สูงได้ไม่ทั่วถึง นอกจากนี้พื้นที่สูงยังคงมี
                       ปัญหาการท าไร่เลื่อนลอย และการบุกรุกท าลายป่าอย่างต่อเนื่อง ในเชิงสังคมประชากรบนพื้นที่สูง

                       ประกอบด้วยชาวเขาเผ่าต่างๆ 15 เผ่า มีจ านวนประชากร 964,916 คน อาศัยกระจัดกระจายอยู่ใน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31