Page 102 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        71







                                      8) ท าให้ได้รับผลผลิตสูงขึ้น และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
                              3.5.3 วิธีการปรับปรุงบ ารุงดิน
                                      1)  การใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ปุ๋ยเคมีที่มีสมบัติและสูตรปุปุ๋ยเหมาะสม เพื่อบ ารุงดินโดยการ

                       เพิ่มธาตุอาหารพืชที่จ าเป็นให้กับดินและพืช โดยเฉพาะธาตุ N P และ K โดยทั้งนี้ให้ท าการวิเคราะห์
                       ดินก่อนว่ามีความสมบูรณเพียงไรขาดธาตุอาหารอะไรบ้าง ถ้าดินยังขาดธาตุอาหารพืชชนิดอื่นๆ เช่น
                       ธาตุอาหารรองหรือธาตุอาหารเสริม ตองพิจารณาให้ธาตุอาหารรอง เช่น ธาตุ Mg S หรือธาตุอาหาร
                       เสริมชนิดต่างๆ เช่น Zn Fe เป็นการเพิ่มเติมด้วย

                                      2)  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และหรือปุ๋ยชีวภาพ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณทางด้านธาตุ
                       อาหารพืชในดินเป็นหลัก การใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยทั่วๆ ไปมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ
                       ของดินเป็นส าคัญ จะมีผลดีทั้งในแงของการบ ารุงดินเพื่อเพิ่มพูนธาตุอาหารพืชในดินและการปรับปรุง
                       สมบัติทางกายภาพของดินไปด้วยพร้อมๆ กัน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพท าให้เพิ่มปริมาณ

                       จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์บางชนิดลงดินหรือส่งเสริมกิจกรรมของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน
                       มากกว่าการใช้เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืชโดยตรงมีที่ส าคัญได้แก่
                                         (1) ปุ๋ยพืชสด (Green manure) เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ได้จากการตัดสับหรือ

                       ไถกลบลงไปในดินในขณะที่พืชยังเขียวอยู่โดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงบ ารุงดินให้มีความอุดม
                       สมบูรณ์ในช่วงระยะเวลาที่พืชออกดอกเพราะน้ าหนักสดและปริมาณธาตุอาหารสูงจากนั้นปล่อยให้
                       เกิดการย่อยสลายจะได้ธาตุอาหารพืชและเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดินพืชปุ๋ยสดที่นิยมเป็นพืชตระกูลถั่ว
                       เนื่องจากขึ้นได้ง่ายและเจริญเติบโตได้ดีและยังมีคุณสมบัติพิเศษที่รากเป็นที่อยู่อาศัยของไรโซเบียม
                       โดยไรโซเบียมจะตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ตัวอย่างพืชปุ๋ยสดที่นิยมใช้

                       ปรับปรุงบ ารุงดินนาของพื้นที่โครงการรักษ์น้ าเพื่อพระแม่ของแผ่นดินลุ่มน้ าขุนน่านเช่นปอเทืองชื่อ
                       สามัญ  Sun  hemp  ชื่อวิทยาศาสตร์ Crotalaria  juncea มีลักษณะล าต้นตั้งตรงแตกกิ่งก้านสาขา
                       มากมีดอกสีเหลืองออกดอกเมื่ออายุประมาณ  45-50  วันขึ้นได้ดีในพื้นที่ดอนที่มีการระบายน้ าดีไม่

                       ชอบน้ าท่วมขังทนแล้งปลูกโดยวิธีการหว่านใช้อัตราเมล็ดเฉลี่ย 5 กิโลกรัมต่อไร่จะให้น้ าหนักสดและ
                       น้ าหนักแห้งเฉลี่ยอยู่ที่  2,500-3,000  และ  500-840  กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับมีปริมาณธาตุอาหาร
                       ไนโตรเจนฟอสฟอรัสโพแทสเซียมแคลเซียมแมกนีเซียมและซัลเฟอร์เฉลี่ยร้อยละ 2.76, 0.22, 2.40,
                       1.53,  2.04  และ  0.96  ตามล าดับปุ๋ยพืชสดช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดินชดเชยอินทรียวัตถุในดิน

                       ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดินให้ดีขึ้น
                                        (2) ปุ๋ยหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการน าชิ้นส่วนของพืชมาหมักในรูป
                       ของการกองช้อนกันบนพื้นดินหรือในหลุมเศษชิ้นส่วนของพืชที่น ามาหมักจะต้องผ่านกระบวนการ
                       ย่อยสลายจนแปรสภาพไปจากรูปเดิมโดยกิจกรรมจุลินทรีย์จนกระทั้งได้สารอินทรียวัตถุที่มีความ

                       คงทนไม่มีกลิ่นมีสีน้ าตาลปนด าและมีอัตราส่วนของสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจนต่ ากรมพัฒนา
                       ที่ดินได้ผลิตสารเร่งท าปุ๋ยคือสารเร่งพด.1 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายเศษพืช
                       ประกอบด้วยเชื้อราและแอคติโนมัยชีสที่ย่อยสารประกอบเชลลูโลสและแบคทีเรียย่อยไขมันใส่ลงใน
                       กองปุ๋ยหมักเพื่อลดระยะเวลาการท าปุ๋ยหมักให้สั้นลงคุณภาพและมาตรฐานของปุ๋ยหมักมีดังนี้

                       อัตราส่วนสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N  ratio) ไม่มากกว่า 20 ต่อ 1  เกรดปุ๋ยไม่ต่ ากว่า
                       0.5-0.5-1.0 (% ของN-P O -K 0 ) ตามล าดับความชื้นของปุ๋ยหมักไม่ควรมากกว่าร้อยละ 35 ถึง 40(
                                            2 5 2
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107