Page 51 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 51

46

                  ตารางที่  4   (ตอ)

                    ปญหาดิน      กลุมชุดดิน                  ลักษณะและสมบัติดินที่เปนปญหา

                  2. ดินเค็ม        12, 13    มีเนื้อดินเปนดินเลน มีน้ําทะเลทวมถึงประจําทุกวัน ทําใหดินเปนดินเค็ม
                                              และความสามารถในการรองรับน้ําหนักต่ํามาก ขาดแคลนแหลงน้ําจืด ไม

                                              สามารถใชปลูกพืชได ยกเวนใชปลูกปาชายเลนและเพาะพันธุสัตวน้ําทะเล

                                              (บางกลุมชุดดินมีศักยภาพกอใหเกิดเปนดินกรดกํามะถัน)

                                      20      มีชั้นสะสมเกลือระดับความลึก 200 เซนติเมตรจากผิวดินหรือมีคราบเกลือ
                                              สะสมที่ผิวดินมาก ทําใหดินแนนทึบ ขาดแคลนแหลงน้ําจืด เมื่อพืชขาก

                                              แคลนน้ํา พืชจะสูญเสียน้ํา เหี่ยวเฉาและตายอยางรวดเร็ว

                  3. ดินทราย          42      มีชั้นดินทรายหนาและพบชั้นดานอินทรียภายในความลึก 100  เซนติเมตร
                                              จากผิวดิน ทําใหความสามารถของดินในการดูดซับน้ําและธาตุอาหารต่ํา

                                              ความอุดมสมบูรณต่ํา ขาดแคลนน้ํา ในชวงที่มีฝนตกชุก อาจมีน้ําทวมขัง

                                              หรือมีระดับน้ําใตดินตื้น ทําใหพืชที่ปลูกเสียหายหรือเกิดรากเนา

                                    43,44     มีชั้นดินทรายหนามากกวา 100  เซนติเมตรจากผิวดิน ทําใหความสามารถ
                                              ของดินในการดูดซับน้ําและธาตุอาหารต่ํา ความอุดมสมบูรณต่ํา ขาดแคลน

                                              น้ํา ในพื้นที่ลาดชัน หนาดินงายตอการเกิดการชะลางพังทลาย

                  4. ดินตื้น        47, 51    พบชั้นหินพื้นตื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ทําใหรากพืชไม
                                              สามารถชอนไชผานชั้นหินพื้นไปได การดูดซับน้ําและธาตุอาหารต่ํา

                                              ความอุดมสมบูรณต่ํา เกิดการชะลางพังทลายสูงในพื้นที่ลาดชันและจํากัด

                                              ชนิดพืชที่ปลูก

                                  45, 46, 48,  พบชั้นลูกรัง กอนกรวด หรือเศษหินมากในระดับตื้น พบภายในความลึก
                                      49      50 เซนติเมตรจากผิวดิน ทําใหรากพืชชอนไชผานไปไดยาก การดูดซับน้ํา

                                              และธาตุอาหารต่ํา ความอุดมสมบูรณต่ํา ในพื้นที่ลาดชันหนาดินงายตอการ

                                              ถูกชะลางพังทลาย และขาดแคลนน้ํา
                                      52      ดินตื้นถึงชั้นมารล  ทําใหรากพืชไมสามารถชอนไชผานชั้นมารลได ดิน

                                              เปนดางจัด ขาดแคลนน้ําและจํากัดชนิดพืชที่ปลูก

                  5. ดินอินทรีย    57, 58    มีวัสดุดินอินทรียหนามากกวา 40  เซนติเมตรจากผิวดิน มีน้ําทวมขังนาน

                                              เกือบตลอดป การรองรับน้ําหนักต่ํา เมื่อแหงดินอินทรียแหงจะยุบตัวมาก
                                              ดินและน้ําเปนกรดจัดมาก ทําใหเกิดความไมสมดุลของธาตุอาหาร พืชจะ

                                              แสดงอาการขาดธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สังกะสี โบรอน

                                              และแมงกานีส
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56