Page 176 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 176

171

                           การพัฒนารูปแบบของระบบเกษตรธรรมชาติ   แนวความการพัฒนารูปแบบเกษตรธรรมชาติใน

                  ประเทศไทย เกิดขึ้นในราวป พ.ศ.2530 ภายหลังจากที่ขอเขียนเรื่อง One Straw Revolution ของนายมาซาโน
                  บุ ฟูกูโอกะ ไดรับการถอดความและตีพิมพเปนภาษาไทย และแนวความคิดเรื่องเกษตรธรรมชาติก็ไดรับการ

                  ขานรับอยางกวางขวาง ตอมากลุมสันติอโศก นับเปนกลุมบุคคลกลุมแรกที่ไดขานรับแนวความคิดเรื่อง

                  เกษตรกรรมธรรมชาติ และไดมีการตีพิมพและเผยแพรแนวคิดและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเกษตรกรรมธรรมชาติ

                  ออกไป ทําใหเปนแรงบันดาลใจใหกับเกษตรกรจํานวนหนึ่งนํามาปฏิบัติ
                                 อนึ่ง หลังการมาเยือนประเทศไทยของนายฟูกูโอกะ มีการตื่นตัวและการยอมรับในแนวความคิด

                  เรื่องเกษตรกรรมธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ยังไดมีการจัดตั้ง กลุมศึกษาเกษตรธรรมชาติ ขึ้นโดย

                  เกษตรกรผูที่สนใจและองคกรพัฒนาเอกชน เพื่อใหเกิดการเรียนรู เชน การพบวาดินในหลายพื้นที่ เนื้อดินมี
                  ความแข็งมาก ไมมีความอุดมสมบูรณ การทํานาโดยไมไถพรวนเลย จึงเปนไปไดยาก ดังนั้น จึงมีการอนุโลม

                  ใหไถพรวนไปกอนในกรณีที่ดินแข็งและไมสมบูรณ ทําใหเกิดการถกเถียงและอภิปรายกันอยางกวางขวางวา

                  ผิดหลักเกษตรธรรมชาติหรือไม


                  รูปแบบระบบเกษตรธรรมชาติ มีดังนี้

                                (1) ระบบการเกษตรธรรมชาติในเขตนิเวศที่ราบลุม : ควรปรับระบบแปลงเพื่อใหมีระบบการระบาย

                  น้ําที่ดี หากเลี้ยงสัตวจําพวก วัว ควาย ควรจัดการมิใหสัตวเขามาทําลายพื้นที่เพาะปลูก
                                (2)  ระบบการเกษตรธรรมชาติในเขตนิเวศที่ดอนและที่สูง :  ควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช

                  พื้นที่ใหเหมาะสม โดยการลดพื้นที่การทํานาหรือ พืชไรลง และเพิ่มพื้นที่แหลงน้ํา การปลูกไมผลและไมยืน

                  ตนอื่นๆ


                  ขอดีเดนของระบบเกษตรธรรมชาติ มีอยู 2 ประการ คือ

                                (1) การฟนฟูความสมดุลของระบบนิเวศ

                                (2) การลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก

                                   การสงวนรักษาอนุรักษระบบนิเวศและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ถือเปนหลักเกณฑ

                  วัตถุประสงค และขอดีเดนของแนวคิดการพัฒนาเกษตรยั่งยืน แตระบบการเกษตรยั่งยืนจะเกิดขึ้นไมได หาก

                  ตัวเกษตรกรเองไมมีความยั่งยืนดานมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิต ซึ่งการเกษตรยั่งยืนสามารถ
                  ตอบสนองความตองการของความยั่งยืนทางดานนี้ไดอยางดี  ทั้งยังสืบตอไปถึงรุนลูกรุนหลานไดอีกดวย

                  และนี่คือความยั่งยืนของระบบเกษตรอยางแทจริง   ดังนั้น แนวความคิดของพัฒนาระบบเกษตรอยางยั่งยืน

                  สามารถนํามาประยุกตบูรณาการดําเนินงานไดดี เหมาะสม และสอดคลองกับวัตถุประสงคในการจัดทํา

                  โครงการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดินอีกดวย
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181