Page 113 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 113

108

                  ในทางตรงกันขามหนาดินที่อยูในสภาพวางเปลา เม็ดฝนที่ตกกระทบรุนแรง ทําใหเม็ดดินกระจายออกจาก

                  กัน การชะพังทลายจึงเกิดขึ้น พืชยังเปนตัวการสําคัญในการขวางกั้นชะลอความเร็วของการไหลบาที่เกิดจาก
                  น้ําฝนใหชาลง ลดการพัดพาเอาเม็ดดิน เนื้อดิน และธาตุอาหารในดินใหสูญหายไปเพียงเล็กนอยเทานั้น

                  อยางไรก็ตาม พืชชนิดตาง ๆ มีประสิทธิภาพในการปองกันการชะพังทลายไมเทากัน พืชที่ขึ้นคลุมดินได

                  หนาแนน และมีปริมาณอินทรียวัตถุอยูมาก ยอมปองกันการชะพังทลายของดินดีกวาพืชที่ขึ้นคลุมดินบางๆ
                  และมีอินทรียวัตถุนอย ในบรรดาพืชทั้งหลาย หญาที่เจริญเติบโตแผเลื้อยคลุมดินไดดีและเร็ว ยอมมี

                  ประสิทธิภาพในการปองกันการชะพังทลายดีกวาพืชชนิดอื่น ๆ การทดลอง (5) ไดพบวาหญาที่ปลูกขึ้นได

                  อยางหนาแนน ยอมใหมีการสูญเสียดินเพียง 0.34 ตันตอเอเคอรตอป เปรียบเทียบกับขาวโพดที่ปลูก

                  หมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่ว มีการสูญเสียดิน 2.78 ขาวสาลี 10.10 ขาวโพด 19.72 และดินวางเปลามีการ
                  สูญเสียปริมาณสูงสุด 41.64 ตันตอเอเคอรตอป นอกจากนี้ ยังพบอีกวา การปลูกหญาคลุมดินชวยลดปริมาร

                  การไหลบาของน้ําฝนบนผิวดินใหเหลือเพียง 12 เปอรเซ็นต ในขณะที่ในแปลงปลูกขาวโพดหมุนเวียนกับพืช

                  ตระกูลถั่ว มีปริมาณน้ําไหลบา 13.8 เปอรเซ็นต  ขาวสาลี 23.3 ขาวโพด 29.4 และดินวางเปลาที่ไถดินลึก 4

                  นิ้ว ปริมาณน้ําฝนไหลบามากที่สุด 30.7 เปอรเซ็นตของปริมาณน้ําฝนที่ตกทั้งหมด จากผลการทดลองนี้ ได
                  แสดงใหเห็นวาพืชสามารถปองกันการชะลางพังทลายของดินไดเปนอยางดี

                           (8) ปองกันการกัดเซาะบริเวณฝงแมน้ํา (Erosion control of river bank) แนวชายฝงแมน้ําลําธารที่

                  ปราศจากพืชขึ้นปกคลุม หรือมีพืชขึ้นปกคลุมไมหนาแนน น้ําฝนที่ไหลบาลงลําธารน้ํา และน้ําที่ไหลรวมกัน
                  เออทวมไปตามบริเวณชายฝงแมน้ําลําธารจะกัดเซาะเอาดินตามริมฝงน้ําใหพังทลายลง และพัดพาใหสูญ

                  หายไป การกัดเซาะนี้ถาหากมีความรุนแรงและเวลานานพอ ดินบนฝงแมน้ําลําธารจะพังทลายลงมา บางครั้ง

                  ทําความเสียหายใหกับสิ่งกอสราง และบานเรือนที่ตั้งอยูใกลริมฝงแมน้ํา การกัดเซาะและชะพังทลายดินริม
                  ฝงแมน้ําจะเกิดขึ้นเชนเดียวกันกับบริเวณรองน้ําลึก หรือทางระบายน้ําในไรนา น้ําจะไหลกัดเซาะริมชายฝง

                  รองน้ําใหพังทลายลงมา พืชหลายชนิดไดแก พืชตระกูลหญาและถั่ว ที่เจริญเติบโตเร็วและขึ้นไดแนนหนา มี

                  ระบบรากลึกที่ชวยยึดเหนี่ยวดิน และมีลําตนที่แนนทึบชวยตานทานการไหลของน้ําในแมน้ําลําธาร ชวยลด
                  การกัดเซาะและกัดกรอนดินตามบริเวณชายฝงแมน้ําลําธาร และรองน้ําลึกในไรนา อาทิ หญาเนเปยร แขม

                  และไมยราบยักษ เปนตน

                           (9)  เปนแนวบังลม (Plants as wind break) ในพื้นที่บางแหงมีลมพัดแรง ความรุนแรงของลมพัด

                  โดยเฉพาะในชวงตนฤดูรอน อาจทําความเสียหายใหกับพืชพรรณ พืชไร คอกสัตวเลี้ยง และโรงเรือนตาง ๆ
                  ในฟารม การใชพืชปลูกเปนแนวกันลม ขวางทิศทางลมพัดใหมีจํานวนตั้งแตสองแนวขึ้นไป โดยใชพืช

                  จําพวกไมยืนตนปลูกในระยะความถี่ที่เหมาะสม สามารถแกปญหาและความเสียหายในไรนาจากลมพายุพัด

                  ทําลายไดเปนบริเวณกวาง นอกจากนี้ ใบพืชที่รวงหลนทับถมลงบนดิน จะชวยคลุมดินปองกันไมใหลมพัด

                  หอบเอาอนุภาคของดินพื้นผิวลอยไปกับลมสูที่อื่น ซึ่งเปนการสูญเสียดินอีกวิธีหนึ่ง มักจะเกิดขึ้นในบริเวณ
                  พื้นที่แหงแลงหรือคอนขางแหงแลง และมีลมพัดแรง พืชที่นิยมปลูกเปนแนวกันลมไดแก กระถินยักษ

                  (Leucaena Leucoce phala Lam de Wit.)  แคบาน (Sesbania grandiflora Poir) กระถินณรงค  (Acacia
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118